การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี
RADIOLOGY DEPARTMENT กลุ่มงานรังสีวิทยา.
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
พฤติกรรม 10 อันดับการทำร้ายกระดูก
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
Thailand Research Expo
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
การปฏิบัติตนในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดACL Reconstruction
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
การปฏิบัติตนหลังผ่าตัดเปลี่ยน
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
เตรียมตัวอย่างไร ปลอดภัยจากการใช้รังสี
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
ดื่มน้ำเมื่อท้องว่าง ดีอย่างไร?
1 ARTHRITIS ความหมาย คือ การอักเสบที่ข้อ กล่าวคือ มีอาการ ปวด บวม แดง ร้อน ที่ข้อนั้นๆ เมื่อเป็นนานเข้าจะทำให้องศาของการเคลื่อนไหวลดลง บิดเบี้ยวหรือผิดรูปจากปกติไป.
ความเสี่ยงอันตรายจาก
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
ให้ผู้ป่วยเคี้ยวอาหารให้ละเอียดพร้อมกลืน
ผลไม้ รักษาโรคได้.
โรคภัยไข้เจ็บในสุนัข
หากมีอาการดังต่อไปนี้ โปรดแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล !!
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
น้ำสมุนไพร ถัดไป.
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง หมายถึงการฉีดน้ำยาซึ่งเป็นสารทึบแสงรังสีเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มไขสันหลัง ซึ่ง ที่อยู่ของน้ำไขสันหลังแล้วถ่ายภาพเอกซเรย์ออกมาเพื่อตรวจหาบริเวณที่มีการกดทับของไขสันหลังหรือรากประสาท มักทำในรายที่มีการเคลื่อนตัวของหมอนรองกระดูกสันหลัง หรือโพรงกระดูกสันหลังแคบ

ถ้าท่านมีประวัติ.. ให้แจ้งเจ้าหน้าที่หรือแพทย์ - แพ้อาหารทะเล การปฏิบัติตัวก่อนทำ ถ้าท่านมีประวัติ.. ให้แจ้งเจ้าหน้าที่หรือแพทย์ - แพ้อาหารทะเล - ประวัติการเกิดอาการชัก ก่อนการตรวจ 1 วัน ให้ดื่มน้ำมากๆประมาณ 10 แก้ว ใ นรายที่ได้รับการฉีดสีในช่วงบ่าย ไม่ควรรับประทานอาหารกลางวันในปริมาณที่มาก

วิธีการทำและการปฎิบัติตัวขณะทำ การฉีดสีจะทำในห้องที่เตรียมไว้โดยเฉพาะ ซึ่งอยู่ในหน่วยรังสีวิทยา เริ่มต้นทำให้อยู่ในท่าตะแคงงอเข่า ก้มศีรษะ เมื่อฉีดสีเข้าไปแล้วขณะที่ถ่ายภาพเอกซเรย์จะมีการเปลี่ยนท่าไปหลายๆท่า ขณะฉีดสีจะถ่ายภาพเอกซเรย์ไม่ควรออกแรงขยับตัว หรือเคลื่อนไหวใดๆ เพราะจะทำให้ตัวยากระจายเร็วเกินไป ทำให้ได้ภาพเอกซเรย์ที่ไม่ชัดเจน ระยะเวลาทำทั้งหมดประมาณ 1 ชั่วโมง

การปฏิบัติตัวหลังทำ 1. ใน 8 ชั่วโมงแรก จะจัดให้นอนหัวสูง 30 องศา เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำยาไหลเข้าไประคายเคืองในสมอง 2.เมื่อครบ 8 ชั่วโมงให้นอนราบ จนครบ 24 ชั่วโมง ระยะนี้ให้ลุกเข้าห้องน้ำได้ และกลับมานอนต่อ 3.ให้ดื่มน้ำมากๆประมาณชั่วโมงละ 1 แก้ว เพื่อช่วยเจือจางน้ำยาและทำให้ถูกขับออกมาท่งไตได้เร็วขึ้น ไม่ตกค้างในร่างกาย 4.รับประทานอาหารได้ตามปกติ ในรายที่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนมากแพทย์ อาจให้น้ำเกลือ 5.ถ้ามีอาการปวด ให้แจ้งแก่เจ้าหน้าที่ เพื่อขอยาแก้ปวด

6.ถ้ามีอาการผิดปกติดังต่อไปนี้ให้รีบแจ้งแก่เจ้าหน้าที่ * มีอาการชักกระตุก หรือเกร็ง * มีอาการชาและอ่อนแรงของขามากกว่าก่อนทำ * มีอาการปวดศีรษะ * มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน *ปัสสาวะไม่ออกภายใน 8 ชั่วโมง * มีการรั่วซึมของเลือด หรือน้ำไขสันหลังบริเวณที่แทงเข็ม