วัตถุดิบแหล่งพลังงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

FOOD PYRAMID.
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน น้ำมันพืชและไขมันสัตว์
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ผลพลอยได้จากเมล็ดพืชน้ำมัน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
โดย ศ.ชโลบล อยู่สุข “ชมรมอยู่ดีมีสุข” วันที่ 1 ตุลาคม 2551
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
Protein.
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
Chemical Properties of Grain
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
whey เวย์ : casein เคซีน
นางสาวสุธาสินี ภัยชนะ
การใช้มันสำปะหลังเป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารสุกร
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
โดย นายณรงค์ชัย มั่นศักดิ์
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
ภาวะไตวาย.
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
Broccoli Wheat grass Barley Grass Spinach Alfalfa Herb Pepermint leaf
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
กินตามกรุ๊ปเลือด.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
Foundation of Nutrition
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
พืชพลังงานตัวใหม่ Tropical sugar beet(TSB)
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวฟ่าง

ข้าวฟ่าง (Sorghum grain) - ในประเทศไทย มี 4 ชนิด - grain sorghum : พันธุ์ Milo, Hegari - Sweet sorghum - Grass sorghum - Broom corn - ทนแล้ง โรคแมลง และดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ - ลำต้นอ่อนมี HCN (prussic acid) - เมล็ดมี tannins : คุณภาพแบ่งตามระดับ

High tannin level 1.57 % Intermediate tannin level 0.66 % Low tannin level 0.33 % Tannins อยู่ที่ seed coat (สีน้ำตาลแดง) มีรสขม เป็นพิษ เป็นสารประกอบ polyphelonic ยับยั้งการสร้าง trypsin, b-amylase, lipase การย่อยได้ของโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และ ไขมัน การเจริญเติบโตและประสิทธิภาพในการใช้อาหาร cholesterol

ทำลายเยื่อบุผนังลำไส้ เกิดอาการตกเลือด การดูดซึมโภชนะโดยเฉพาะธาตุเหล็ก เกิดกรด tannic acid ทำลายเยื่อบุผนังลำไส้ เกิดอาการตกเลือด การดูดซึมโภชนะโดยเฉพาะธาตุเหล็ก พิษของแทนนินต่อไก่ใข่ 0.05% ในอาหาร เกิดจุดสีเหลืองบนไข่แดง 0.5% ไข่แดงมีสีเขียวมะกอก 0.64-0.83% ลดอัตราการเจริญเติบโต + ประสิทธิภาพการใช้ อาหาร 0.5-2% ลดอัตราการเจริญเติบโต สะสมไขมันที่ตับ 2-4% ไข่จะได้สีเขียวอ่อน > 5% ไก่จะตาย

- ในข้าวฟ่าง มี cyanogens ซึ่งเป็น glycoside (cyanogenic glycoside) เมื่อถูกย่อยจะปลดปล่อย prussic acid หรือ hydrocyanic acid Cyanogenic glycoside 2 glucose+HCN+ketone ขัดขวางการทำงาน cytochrome oxidase ขาด ATP , energy dyspnea (หายใจขัด), gasping (หอบ), staggering (เดินโซเซ), paralysis (อัมพาต), convulsion (ชัก) โคม่าและตาย a-glucosidase

การใช้เมล็ดข้าวฟ่างเลี้ยงสัตว์ - ควรมีการบดเพื่อเพิ่มการย่อยได้ - ข้าวฟ่างมี CP สูงกว่าข้าวโพด (11 vs. 8-10%) แต่ โปรตีนมีคุณภาพต่ำเพราะขาด lysine, threonine, methionine, cystine และ tryptophan (ข้าวโพดขาด lysine และ tryptophan ) - มีcarotene, ใขมันน้อยกว่าข้าวโพด - มี niacin สูงกว่าข้าวโพด

- ใช้เพื่อทดแทนข้าวโพดและกากถั่วเหลือง แต่ต้องเสริม กรดแอมิโน และวิตามิน เอ สามารถใช้แทนที่ข้าวโพด อาหารไก่ไข่ แต่ต้องเพิ่มสารสี อาหารไก่กระทงและลูกไก่ ข้าวฟ่างที่มี tannins ต่ำ สามารถใช้แทนเมล็ดธัญพืชอื่นได้ 50-60% - อบไอน้ำและอัดน้ำมันจะลดทั้ง tannins และ prussic acid - คำนึงถึงความเปียกชื้น รา ยาฆ่าแมลง และการปนปลอม