การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.
Knowledge Management (KM)
ไดอะล็อค : สุนทรียสนทนา
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
มัทธิว 7 : 7 จงขอเถิด แล้วท่านจะได้รับ จง แสวงหา เถิด แล้วท่านจะพบ
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
นิยาม Reflection กระบวนการสะท้อนความคิด (a metacognitive process)
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9
“แสดงความมุ่งมั่น แบ่งปันการเรียนรู้”
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
KM AAR.
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
K M คือ Knowledge Management
“โรงเรียนกับแนวคิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้”
การจัดการความรู้ KM คืออะไร?
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
Human KM Workshop สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
บันทึกจากการฟังการบรรยายเรื่อง
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
(Knowledge Management : KM)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Communities of Practice (CoP)
โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
การถอดบทเรียน หลังจากการดำเนินกิจกรรมโครงการ เสร็จสิ้นแล้ว
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
สถานการณ์การจัดการความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร  เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2547 ภายใต้คำรับรองการปฏิบัติราชการ มีแนวทางการดำเนินงาน  ปี 2548 ต่อยอดของเดิม.
ศิลปะการพูดในที่ชุมชน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
ชุมชนคนใกล้ หมอ นำเสนอ ในงาน KM DAY 28 สิงหาคม 2008.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มช.
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การจัดการ ความรู้ กองแผนงาน. 1. ทีมงาน KM ซึ่งแต่งตั้งในปี 2549 เป็น แกนนำหลักในการดำเนินการเพื่อความต่อเนื่อง 2. ประเมินผลการดำเนินการในปี 2549 และนำเสนอผลการประเมินเพื่อหารือในที่
Learning Organization & Knowledge Management
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การถอดบทเรียน หลังจากการดำเนินกิจกรรมโครงการ เสร็จสิ้นแล้ว
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
การถอดบทเรียน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา 25 - 27 เมษายน 2550 อาราญาน่า ภูพิมาน รีสอร์ท ปากช่อง นครราชสีมา ดำเนินกระบวนการโดย สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)

เป้าหมาย เพื่อทำความรู้จัก การจัดการความรู้ ผ่านการทดลองทำแบบฝึกหัดเล็กๆ เรียนรู้เองจากแบบฝึกหัด เรียนรู้และทดลองใช้ เครื่องมือ KM ซึ่งเน้นกระบวนการ “Appreciative Approach” เพื่อนำไปปรับใช้ในการพัฒนาองค์กรต่อไป

แนวคิด “การจัดการ” ความรู้ Create/Leverage Access/Validate เข้าถึง ตีความ สร้างความรู้ ยกระดับ ความรู้เด่นชัด Explicit Knowledge ความรู้ซ่อนเร้น Tacit Knowledge รวบรวม/จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เรียนรู้ร่วมกัน store apply/utilize Capture & Learn มีใจ/แบ่งปัน เรียนรู้ ยกระดับ Care & Share เน้น 2 T เน้น 2 P Tool & Technology People & Process

Model “ปลาทู” KA KS KV “คุณอำนวย” “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” ส่วนหัว ส่วนตา Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Model “ปลาทู” “คุณอำนวย” Knowledge Facilitator KS KA KV “คุณเอื้อ” Chief Knowledge Officer : CKO Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs Knowledge Vision ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Practitioner “คุณกิจ”

กระบวนการ Session 1 เรียนรู้จากกรณีศึกษา Session 3 เรียนรู้จาก การทดลองใช้ KM – Group Working Session 4 Group Presentation Session 5 เรื่องเล่าจาก สรส. (ภาคค่ำ 26/04/50) Session 6 AAR

Session 1 เรียนรู้จากกรณีศึกษา กำหนดการ บ่าย 25/04/50 Session 1 เรียนรู้จากกรณีศึกษา play ก่อน learn ดู VCD โรงพยาบาลบ้านตาก Group Working Presentation (5 กลุ่ม)

กำหนดการ เช้า 26/04/50 Session 2 การจัดการความรู้ : หลักการ และประสบการณ์ โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

Session 3 ทดลองใช้ (เครื่องมือ KM) กำหนดการ บ่าย 26/04/50 Session 3 ทดลองใช้ (เครื่องมือ KM) Storytelling Deep listening Dialogue Sharing Platform

กำหนดการ บ่าย 26/04/50 Session 4 Group Presentation นำเสนอทุกกลุ่ม กลุ่มละ 10 นาที

Session 5 เรียนรู้จากประสบการณ์ สรส. กำหนดการ บ่าย 26/04/50 Session 5 เรียนรู้จากประสบการณ์ สรส. (ภาคกลางคืน)

Session 6 AAR และสรุปส่งท้าย กำหนดการ เช้า 27/04/50 Session 6 AAR และสรุปส่งท้าย ประมวลแก่นความรู้จากเรื่องเล่า AAR

Session 1 Play ก่อน Learn แบ่งกลุ่มย่อย เรียนรู้ KM จาก VCD ประมวลผลการเรียนรู้ – กลุ่มย่อย นำเสนอผลงานกลุ่ม

แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน แยกกลุ่มอาจารย์ เจ้าหน้าที่ แยกกลุ่มอาจารย์ เจ้าหน้าที่ คละหน่วยงาน คนที่มาจากแผนกเดียวกัน แยกไปคนละกลุ่ม แต่ละกลุ่ม มี “คุณอำนวย” และ “คุณลิขิต” ประจำกลุ่ม

โจทย์ ท่านได้เรียนรู้อะไรบ้างจาก VCD? นำไปปรับใช้ในการทำงานในคณะศึกษาศาสตร์ ได้หรือไม่ อย่างไร?

Session 2 ฟังการบรรยาย KM โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

Session 3 เรียกสมาธิก่อนทำงาน เรียบเรียงเรื่องเล่า โดยการเขียน & เขียนปัจจัยแห่งความสำเร็จจากเรื่องเล่า แนะนำ “คุณอำนวย” “คุณลิขิต” ประจำกลุ่มย่อย เล่าเรื่อง “ความสุข” จากประสบการณ์การทำงานในคณะศึกษาศาสตร์ ม. บูรพา

เรียกสมาธิ โดย อ. มณฑล สรไกรกิติกูล เรียกสมาธิ โดย อ. มณฑล สรไกรกิติกูล

ย้อนรำลึกเหตุการณ์ “ความสุข” เรียบเรียงเรื่องเล่าจากประสบการณ์ เล่าเหตุการณ์ที่ท่านประทับใจ หรือ มีความสุข เขียนเรื่องเล่า 1 หน้ากระดาษ A4 เขียนปัจจัยแห่งความสำเร็จ จากเรื่องเล่าของท่านเอง สุโข ปัญญาปติลาโภ

เรื่องเล่า เรียบเรียงเหตุการณ์จากประสบการณ์ที่ทำงานในคณะ เป็นเหตุการณ์ที่ท่านประทับใจ รู้สึกดีในตอนนั้น เขียนโดยใช้ภาษาง่ายๆ ตามความรู้สึกของท่าน เขียนลงกระดาษ A4 ไม่เกิน 1 หน้า และเขียน “ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความสุขใจ”

เล่าเรื่อง “ความสุข” ในกลุ่มย่อย เล่าเหตุการณ์ ให้เห็นว่า “ความสุข” นั้น เกิดขึ้นได้อย่างไร? เห็นตัวละครในเรื่อง เห็นอารมณ์ความรู้สึก เล่าโดยไม่ตีความ เล่าเหตุการณ์เล็กๆ ในเวลาสั้นๆ ไม่มีถูก – ไม่มีผิด

เล่าเรื่อง “ความสุข” ในกลุ่มย่อย ฝึกการฟังอย่างตั้งใจ (deep listening) อย่าแสดงกริยาใดๆ ที่ทำให้การเล่าเรื่องสะดุด อย่าท้วงติงผู้เล่าว่า ทำไมไม่ทำอย่างนั้น อย่างนี้ จับประเด็น “ปัจจัยแห่งความสุข” หลีกเลี่ยงสิ่งทีรบกวนบรรยากาศในกลุ่ม เช่น เสียงโทรศัพท์, ลุกเข้า ลุกออก, แยกกลุ่มคุย ฯลฯ หลีกเลี่ยงคำพูด ที่แสดงถึงการชี้ถูก - ชี้ผิด

Session 4 นำเสนอ “ปัจจัยแห่งความสำเร็จ” จากเรื่องเล่า และ เล่าเรื่องที่กลุ่มประทับใจ 1 เรื่อง

Session 6 After Action Review ท่านคาดหวังอะไรบ้าง จาก workshop ครั้งนี้ มีอะไรบ้างที่ได้เกินกว่าทีคาดหวัง อย่างไร? มีอะไรบ้างที่ยังไม่ได้ตามที่คาดหวังไว้ เพราะเหตุใด? กลับไปจะทำอะไร (ใหม่ๆที่ยังไม่เคยทำ) ให้กับคณะบ้าง โดยเริ่มต้นที่ตนเองอย่างไร?

สิ่งที่ควรทำ พูดออกมาจากใจ จากความรู้สึกส่วนตัวของท่าน พูดออกมาจากใจ จากความรู้สึกส่วนตัวของท่าน ให้โอกาสคนที่พรรษาน้อย แสดงความรู้สึกก่อน ฝึกทดลองทักษะฟังอย่างลึก (deep listening) ฝึกการใช้ Dialogue (สุนทรียสนทนา) ถอดหมวก