EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 6 The Fast.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP2-1 2 Discrete-time Signals and Systems สัญญาณและระบบแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา ผศ.ดร.
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 5 The Discrete.
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP10-1 DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม ดร. พีระพล.
ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
DSP 7 Digital Filter Structures โครงสร้างตัวกรองดิจิตอล
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 2 z-Transform.
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
DSP 7 Digital Filter Structures โครงสร้างตัวกรองดิจิตอล
DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การแปลงภาพสีเทาให้เป็นภาพขาวดำ
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแจกแจงปกติ.
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
E-Sarabun.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
School of Information Communication Technology,
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
4 The z-transform การแปลงแซด
การค้นในปริภูมิสถานะ
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การค้นในปริภูมิสถานะ
การแบ่งแยกและเอาชนะ Divide & Conquer
การแบ่งแยกและเอาชนะ Divide & Conquer
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ใบสำเนางานนำเสนอ:

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-2 เป้าหมาย • นศ รู้จักความหมายของ การแปลงฟูริเยร์แบบ เร็ว (Fast Fourier Transform :FFT) และผล การแปลงจากสัญญาณในโดเมนเวลา • นศ รู้จัก FFT แบบ Decimation in time (DIT) หรือ DIT-FFT

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-3 DFT คำนวณช้า... เพราะการคูณของเลขเชิงซ้อน • จากเรื่องของ DFT • สังเกตว่า แต่ละค่าของ X(k) นั้น ต้องทำการคูณ จำนวนเชิงซ้อน • ถึง N ค่า คือ x(0) ถึง x(N-1) • และ ถ้าต้องการ X(k), โดยที่ k=0 ถึง N-1 ก็ต้องคูณ จำนวนเชิงซ้อน • อีก N ครั้ง กลายเป็น NxN • ซึ่งเป็นการกินกำลังงานของโปรเซสเซอร์อย่าง มาก !!! โดย เลขเชิงซ้อน

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-4 จำนวนการคูณและบวกเลขจริงต่อ การคูณเลขเชิงซ้อนหนึ่งครั้ง ตัวอย่าง วิธีทำ จงหาจำนวนการคูณและบวก สำหรับการเลขเชิงซ้อนข้างล่าง มีการบวกสามครั้ง มีการคูณ สี่ครั้ง โดยที่

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-5 จำนวนการคูณเลขเชิงซ้อนสำหรับ 2-point DFT กรณี N=2 มีการคูณเลขเชิงซ้อน 4 ครั้ง

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-6 จำนวนการคูณเลขเชิงซ้อนสำหรับ 4-point DFT มีการคูณเลขเชิงซ้อน 16 ครั้ง กรณี N=4

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-7 วิธีลดจำนวนการคูณเลขเชิงซ้อน ลองมาดูว่ากรณี N=2 เราได้ นั่นคือ เราได้

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-8 วิธีลดจำนวนการคูณเลขเชิงซ้อน ( ต่อ ) โดยการคำนวณ W N ไว้ก่อน จะทำให้ลดการคูณเลขลง ซึ่งอาจจะทำให้ไม่มีการคูณเลขเชิงซ้อนเลย !!! แต่เนื่องจาก ซึ่งเป็นเลขจำนวนจริง ดังนั้น หรือ

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-9 The Fast Fourier Transform (FFT) เร็ว... เพราะการสลับลำดับข้อมูล •Radix-2 DIT-FFT •FFT เป็นชื่อเรียกโดยรวมๆของ อัลกอริธึมใดๆ ที่ มีการแปลง DFT อย่างเร็ว • วิธี “ แบ่งแยกแล้วปกครอง (Divide and conquer)” ก็เป็นหนึ่งวิธีที่จะลดจำนวนการคูณ เลขเชิงซ้อนลง • ใช้ การแบ่งทางเวลา (Decimation in time) กับ N สัญญาณโดเมนเวลา โดยที่ N เป็นเลข กำลังของ 2 หรือเรียกว่า Radix-2 ดังนั้นชื่อ เต็มเรียกว่า Radix-2 DIT-FFT

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-10 บัตเตอร์ฟลาย Butterfly 1 1 Note: จริงๆแล้วแม้ว่า =1 ส่วน = -1, แต่ตอนนี้เราจะนับไปก่อนว่าเป็นเลขเชิงซ้อน เป็นชื่อเรียก ของ กราฟการไหลของสัญญาณ (signal flow graph) โดยหนึ่ง บัตเตอร์ฟลาย มีการคูณเลขเชิงซ้อน สอง ครั้ง

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-11 กรณี N=4 DIT-FFT กรณี N =4 โดยที่ เราใช้การ ” สลับ ” ตำแหน่งของข้อมูลแล้ว ” รวม ” (recomposite)

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-12 การสลับตำแหน่งและการรวม (recomposite) DFT แบบ 4 จุด = DFT แบบ 2 จุด + W k 4 x DFT แบบ 2 จุด ซึ่งเป็นการแยกออกเป็น DFT แบบ 2 จุดสองชุด ดังนั้น

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-13 เรา “ ลดรูป ” สมการลงได้อีกในขั้น Recomposite เราจะสร้าง “ บัตเตอร์ฟลาย ” เพื่อแสดงการสร้างสัญญาณ X(k) สำหรับ แต่ละค่าของ k

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-14 หา หมายเหตุ : ลูกศรที่ไม่เขียนค่ากำกับไว้ จะเท่ากับการคูณด้วย “1” การรวม Recomposite

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-15 หา การรวม Recomposite

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-16 หา การรวม Recomposite

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-17 หา การรวม Recomposite

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-18 ผลลัพท์ท้ายสุดคือ 4-point DIT-FFT 1 1 การรวม Recomposite 2-point DFT x 2

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP point DIT-FFT จัดรูปแบบใหม่

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP point DIT-FFT ( ต่อ ) จาก สังเกตว่า เหลือเพียงการคำนวณสำหรับ 4-point DFT เท่านั้น

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-21 ลดรูปลงได้อีกไหม ? ได้ใช้ประโยชน์จากความเป็นคาบของสัญญาณ

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP point บัตเตอร์ฟลาย 4-point DFT 4-point DFT การรวม Recomposite

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-23 แต่เรายังลดรูปได้อีก 2-point DFT จาก สมการ 8-point DFT ที่ถูกลดลงเหลือ 4-point DFTx2 ซึ่งก็คือ การแบ่ง 4-point DFT ออกเป็น 2-point DFTx2

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-24 แยก 4-point DFT ออกเป็น 2-point DFT สำหรับ x(0),x(2),x(4) และ x(6) 4-point DFT 1 1

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-25 สำหรับ x(1),x(3),x(5) และ x(7) 2-point DFT ซึ่งก็คือ การแบ่ง 4-point DFT ออกเป็น 2-point DFTx2

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP point DFT 1 1 แยก 4-point DFT ออกเป็น 2-point DFT สำหรับ x(1),x(3),x(5) และ x(7)

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-27 DIT-FFT สำหรับ N=8

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-28 สรุป 8-point DFT แตกตัวออกได้จนเหลือ 2-point DFT 8-point DFT 4-point DFT + W k 8 x 4-point DFT 2-point DFT + W 4 k x 2-point DFT

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-29 กรณี 8-point DIT-FFT ตัวรวม 8-point DFT (Recomposition to 8-point DFT) ตัวรวม 4-point DFT ตัวรวม 4-point DFT

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP point DFT Recomposition กรณี N-point DIT-FFT

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-31 ทำไม FFT ใช้การคำนวณเพียง N log2N ? เมื่อเราให้ R เป็น จำนวนขั้น (stage) ที่มีการรวม เราจะได้ว่า จึงได้ สำหรับ 4–point DFT, R=1 สำหรับ 8–point DFT, R=2

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP point DFT จำนวนครั้ง การรวม (R)= point DFT จำนวนครั้ง การรวม (R)= 12 จำนวนขั้นการรวม (R)

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-33 จำนวนบัตเตอร์ฟลายต่อคอลัมน์ (B) point DFT point DFT จำนวนคอลัมน์ 2 จำนวน บัตเตอร์ฟลาย (B)= 44 4 จำนวนบัตเตอร์ ฟลาย (B)= 22 จำนวนคอลัมน์ 3

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-34 จำนวนการคูณเลขเชิงซ้อน = จ. น. บัตเตอร์ฟลายต่อคอลัมน์ X จ. น. คอลัมน์ X มีการคูณ 2 ครั้งต่อบัตเตอร์ฟลาย

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-35 เปรียบเทียบจำนวนครั้งการคูณเลขเชิงซ้อน ของ DFT และ FFT เราลดการคำนวณ จาก เหลือ NDFT N 2 FFT (N log 2 N) : , : 65, ,144 1,048, : 2,048 4,608 10,240

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-36 ปรับปรุงบัตเตอร์ฟลาย เราทราบว่า จาก ดังนั้น ทำให้เหลือ จ. น. การคูณเลขเชิงซ้อนเป็น (N/2)log 2 N r= เลขใดๆ 1

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP เหลือจ. น. การคูณเลขเชิงซ้อนเพียง (N/2)log 2 N= 4 บัตเตอร์ฟลาย 4-point DFT ที่ถูกลดรูป

EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-38 สรุป •FFT ก็คือ DFT แต่เป็นการสลับตำแหน่งข้อมูล และเทคนิกการรวมสัญญาณ เพื่อย่อยให้จำนวน การแปลงลดรูปลง วิธีการนี้ เรียกว่า Decimation in Time (DIT) และเรียก การ แปลงฟูริเยร์แบบเร็วนี้ว่า DIT-FFT • การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว (FFT) แบบจะทำให้ เหลือการคูณเลขเชิงซ้อนเหลือเพียง Nlog2N ครั้ง จาก N2 ครั้ง เมื่อใช้ DFT • หรืออาจจะลดการคูณเลขเชิงซ้อนลงได้อีกเป็น (N/2) log2N หากใช้การปรับปรุงบัตเตอร์ฟลาย