การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
Ground State & Excited State
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
(Impulse and Impulsive force)
ความเค้นสัมผัส (contact stress)
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
1st Law of Thermodynamics
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
Laboratory in Physical Chemistry II
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
1 ความดันสถิต 2 กฎของปาสคาล 3 แรงพยุง 4 ความตึงผิว
การทดลองที่ 5 Colligative property
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
หน่วยที่ 5 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
แนวโน้มของตารางธาตุ.
ว ความหนืด (Viscosity)
งานและพลังงาน (Work and Energy).
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
ระบบอนุภาค.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
พลังงานภายในระบบ.
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
(Internal energy of system)
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง ไอน้ำมันเบนซินจากคลังน้ำมันเชื้อเพลิง ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
วงรี ( Ellipse).
ซ่อมเสียง.
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ดาวพุธ (Mercury).
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
พันธะเคมี.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง ปรอท ปรอท ระดับปรอทลดลง เนื่องจากความดันไอของของเหลว ของเหลว เวลาต่อมา ปรอท

ตัวอย่างการคำนวณ ที่ 20 OC ไอของของเหลว ทำให้ระดับปรอทลดลง 15.2 mmHg ความดันไอของของเหลว = 15.2 = 0.02 atm 760

สมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง (Clausius Clapeyron Equation) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดัน (P) กับอุณหภูมิ (T)

ถ้าเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดัน กับอุณหภูมิในรูปของ log P กับ 1/T จะได้ กราฟที่มีความชันเป็นลบ โดยความชันของกราฟ เท่ากับ

ทำไม จึงได้กราฟที่มีความชันเป็นลบ ? ความชันเท่ากับ log P 1 T ทำไม จึงได้กราฟที่มีความชันเป็นลบ ?

ถ้าของเหลวชนิดเดียวกัน มีความดันไอ P1 ที่อุณหภูมิ T1 จะเขียนสมการแสดงความสัมพันธ์เป็น ข้อสังเกต: การแทนค่าอุณหภูมิ ต้องใช้ในหน่วยเคลวิน (K)

สมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง จะใช้ได้ดี สมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง จะใช้ได้ดี เมื่อไอของของเหลวมีพฤติกรรมแบบแก๊สสมบูรณ์แบบ ใช้ประโยชน์ในการหา DHvap ของของเหลว

ตัวอย่าง ที่ความดันบรรยากาศ เอทิลอัลกอฮอล์ (EtOH) เดือดที่อุณหภูมิ 78.4 OC ถ้าความดันไอของสารดังกล่าว ที่อุณหภูมิ 40 OC เท่ากับ 150 torr จงคำนวณหาความร้อน ของการระเหยกลายเป็นไอ (DHvap) ของเอทิลอัลกอฮอล์ วิธีคิด ที่ P1 = 760 Torr = 1 atm T1 = 78.4 OC = 351.4 K โจทย์กำหนด ที่ P2 = 150 Torr = 150/760 atm T2 = 40 OC = 313 K

โจทย์ให้หา DHvap ของ EtOH จากสมการ แทนค่าจะได้ จากตาราง: DHvap ของ EtOH = 38.58 kJ mol-1

ความตึงผิวและความหนืด การที่อนุภาคในของเหลวอยู่ชิดกัน มีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน ทำให้เกิดสมบัติที่เรียกว่า แรงดึงผิว หรือ ความตึงผิว (surface tension) และความหนืด (viscosity) ของเหลวใดที่มีแรงดึงผิวหรือความหนืดมาก แสดงว่า มีแรงดึงดูดระหว่างอนุภาคมาก ของเหลวเหล่านี้ จะมีความดันไอต่ำ แต่มีจุดเดือดสูง และการเคลื่อนที่ของอนุภาคช้า

โมเลกุลใต้พื้นผิวของของเหลว จะมีแรงกระทำระหว่างกัน ความตึงผิว / แรงดึงผิว (Surface Tension) โมเลกุลใต้พื้นผิวของของเหลว จะมีแรงกระทำระหว่างกัน ในทุกทิศทาง ขณะที่โมเลกุลที่พื้นผิว จะมีแรงกระทำจากด้านล่างเท่านั้น ซึ่งจะทำให้มีแรงดึงผิวเข้าสู่ศูนย์กลาง

ความตึงผิวของน้ำ เป็นตัวพยุงให้แมลงน้ำอยู่บนผิวน้ำได้

ปรอท: หยดเล็ก ๆ จะมีรูปร่างเป็นทรงกลม ขณะที่หยดที่ใหญ่กว่าจะเป็นทรงกลมแบน เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก

แรงที่ของเหลวดึงดูดโมเลกุลตัวมันเองเข้าไว้ด้วยกัน Cohesive Forces แรงที่ของเหลวดึงดูดโมเลกุลตัวมันเองเข้าไว้ด้วยกัน Adhesive Forces แรงกระทำระหว่างของเหลวกับพื้นผิวของสารอื่น ๆ

ปรอท (mercury) น้ำ(water) Capillary Action ปรอท (mercury) น้ำ(water) Adhesive forces สูงกว่า Cohesive forces Adhesive forces ต่ำกว่า Cohesive forces

พอลิเมอร์ซิลิโคน (silicone polymer) ที่เคลือบบนแก้ว/กระจก จะลด adhesive forces ระหว่างโมเลกุลของน้ำกับพื้นผิว ทำให้น้ำไม่เกาะติดบนพื้นผิวของแก้ว/กระจก

ความหนืด (Viscosity) ความหนืด คือ ความต้านทานการไหลของของเหลว ที่อุณหภูมิห้อง น้ำผึ้งมีความหนืดสูงมาก ? น้ำมันเบนซินมีความหนืดต่ำมาก ๆ ?

Calibration Marks Ostwald Viscometer

หน่วยของความหนืด คือ Poise หรือ N s m-2 ความหนืดของน้ำ ที่ 25 oC คือ 0.89 Centipoise H2O หรือ 0.89 x 10-2 Poise ที่ 20 oC คือ 1.01 x 10-3 Poise Glycerine: Viscosity = 945 Centipoise ที่ 25 oC

Pentane: Viscosity = 0.215 Centipoise ที่ 25 oC Dodecane: Viscosity = 1.38 Centipoise ที่ 25 oC

ความหนืดสัมพัทธ์ (relative viscosity) ของสารบางชนิด ที่ 20 oC เทียบกับน้ำ Ethyl alcohol 1.20 Ethyl Ether 0.23 Blood (Male) 4.71 Blood (Female) 4.46 Glycerol 1490 Water 1.00

ความสัมพันธ์ระหว่างความหนืดกับอุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิสูงขึ้น โมเลกุลก็จะเคลื่อนที่เร็วขึ้น เป็นผลให้พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น และมีผลต่อพฤติกรรมของของเหลว มากกว่าแรงกระทำระหว่างโมเลกุล ทำให้ของเหลวดึงดูดกันไว้ได้น้อยลง ความหนืดจึงลดลง

Lower Viscosity Increasing Temperature Strong atteactive forces Higher Viscosity Lower Viscosity Increasing Temperature

ผลของแรงกระทำระหว่างโมเลกุล ที่มีต่อสมบัติทางกายภาพของของเหลว ผลของแรงกระทำระหว่างโมเลกุล ที่มีต่อสมบัติทางกายภาพของของเหลว สมบัติทางกายภาพ แรงกระทำระหว่างโมเลกุล ของเหลวที่ระเหยได้ง่าย น้อย ของเหลวที่ระเหยได้ยาก มาก Cohesive forces ต่ำ สูง ความหนืด ความตึงผิว ความจุความร้อนจำเพาะ ความดันไอ อัตราการระเหย จุดเดือด ความร้อนของการกลายเป็นไอ

ตัวอย่าง จงเรียงลำดับจุดเดือดของสารต่อไปนี้ H2S, H2O, CH4, H2, KBr วิธีทำ จากโจทย์ KBr เป็นของแข็งที่มีพันธะไอออนิก จะมีจุดเดือดสูงที่สุด น้ำ (H2O) มีพันธะไฮโดรเจนด้วย จึงมีจุดเดือดค่อนข้างสูง H2S เป็นสารที่มีแรงกระทำแบบโพลาร์โควาเลนต์อยู่ด้วย จึงมีจุดเดือดสูงรองลงมา ทั้ง CH4 และ H2 เป็นแก๊สแบบ non polar โดยที่ CH4 มีโมเลกุลใหญ่กว่า จะทำให้เกิดขั้วได้ง่ายกว่า H2 จึงมีจุดเดือดสูงกว่า โดยสรุป จุดเดือดของสารเรียงจากต่ำไปหาสูงได้ดังนี้ H2 < CH4 < H2S < H2O < KBr