อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น อ.สุรัชน์ อินทสังข์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
การประมาณค่าอินทิกรัล Numerical Integration
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
การดำเนินการของลำดับ
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
Green’s Theorem ทฤษฎีบทของกรีน.
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
ลิมิตซ้ายและลิมิตขวา
พาราโบลา (Parabola).
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
อสมการ.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
จงหาค่าอินทิกรัลสามชั้นของ.
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
Object-Oriented Analysis and Design
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 15.
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
พิจารณาโครงสร้างของฟังก์ชันที่นิยามโดยปริยายดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
ระบบอนุภาค.
การหาปริพันธ์ (Integration)
CHAPTER 4 Circuit Theorems
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
เศษส่วน.
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
บทที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ผังงาน (FLOW CHART) ตัวอย่างผังงาน
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันไปตามเส้นโค้ง C อินทิกรัลตามเส้นโค้ง

การหาค่าอินทิกรัลตามเส้น (4,0) (0,4) จงหาค่าอินทิกรัลตามเส้นของ ไปตามเส้นโค้ง C ดังรูป วิธีทำ ให้เปลี่ยนค่าอินทิกรัลตามเส้นให้อยู่ในรูปการหาปริพันธ์แบบจำกัดเขต

การหาค่าอินทิกรัลตามเส้น 1) หาสมการพาราเมทริกซ์ของเส้นโค้ง C : 2) กำหนดให้ 3) แทนค่า x และ y ด้วย f(t) และ g(t)

หลักการในการหาค่าอินทิกรัลตามเส้น 1. แบ่ง [a,b] ออกเป็นหลายๆช่วง 2. พิจารณา [ti-1,ti] 3. กำหนดให้ xi=x(ti) , yi=y(ti) 4. จะได้ว่า Pi(xi, yi) แบ่งเส้นโค้ง C ออกเป็น n ส่วนโค้งที่แต่ละอันมีความกว้าง ∆s1, ∆s2, …, ∆sn.

หลักการในการหาค่าอินทิกรัลตามเส้น 5. เลือกจุด Pi*(xi*, yi*) ในส่วน โค้งที่ i ซึ่งสอดคล้องกับจุด ti* ใน [ti-1, ti]

หลักการในการหาค่าอินทิกรัลตามเส้น 6. คำนวณค่าฟังก์ชัน f ที่จุด (xi*, yi*) 7. จากนั้นคูณด้วยความยาวส่วนโค้ง ∆si 8. นำผลรวม ของทุกชิ้น มารวมกัน(คล้ายกับผลรวมรีมันน์) 9. เทคลิมิตของผลรวม จะได้ผลลัพธ์เป็นการหา ค่าอินทิกรัลตามปกติ

หลักการในการหาค่าอินทิกรัลตามเส้น เนื่องจากความยาวของเส้นโค้ง C หาได้จาก ดังนั้นจะได้ว่า

ตัวอย่าง จงหาค่าของ เมื่อ C คือครึ่งบนของวงกลม x2 + y2 = 1

วิธีทำ เนื่องจากเส้นโค้ง C เป็นสมการวงกลมรัศมี 1 หน่วย กำหนดให้ x = cost และ y = sint จะได้ว่า และ

วิธีทำ (ต่อ) นั่นคือ

วิธีทำ (ต่อ)

ตัวอย่าง จงหาค่าของ เมื่อ C คือส่วนโค้งที่ประกอบด้วย C1 : y = x2 จากจุด (0,0) ไปยัง (1,1) และ C2 : เส้นตรงจากจุด (1,1) ไปยัง (1,2) ดังรูป

วิธีทำ เนื่องจากเส้นโค้ง C1 เป็นสมการพาราโบลา กำหนดให้ x = t และ y = t2 จะได้ว่า และ

วิธีทำ นั่นคือ

วิธีทำ เนื่องจากเส้นโค้ง C2 เป็นสมการเส้นตรง กำหนดให้ x = 1 และ y = t จะได้ว่า และ

วิธีทำ นั่นคือ

การกำหนดสัญลักษณ์ หรือ

ตัวอย่าง จงหาค่าของ ไปตามเส้นโค้ง C ระหว่างจุด (-1,2) และ (2,5) 2) 1) (2,2) (2,5) (-1,2) (2,0) (2,5) (-1,0)

ตัวอย่าง (2,8) (-1,-1) จงหาค่าของ เมื่อกำหนดเส้นโค้ง C คือ

ตัวอย่าง จงหาค่าของ (4,0) (0,4) ไปตามเส้นโค้ง C ดังรูป

พิจารณาเส้นโค้ง C คือเส้นโค้งที่กำหนดโดย C is smooth C is piecewise smooth

พิจารณาเส้นโค้ง C คือเส้นโค้งที่กำหนดโดย C เป็นเส้นโค้งปิด ไม่มีเส้นตัดกันภายใน

ตัวอย่าง จงหาค่าของ เมื่อ C คือเส้นโค้งที่กำหนดดังรูป

ซึ่งการหาค่าอินทิกรัลตามเส้น หาก C เป็นเส้นโค้งปิดอย่างง่ายสามารถใช้ทฤษฎีบทที่สำคัญในการหาค่าอินทิกรัลได้เรียกว่า ทฤษฏีบทของกรีน (Green Theorem) จะเรียนในคาบต่อไป