ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบจำนวนจริง(Real Number)
Advertisements

นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
คอมพลีเมนต์ นิยาม คอมพลีเมนต์ของเซต A เขียนแทนด้วย หมายถึง เซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งเป็นสมาชิกของเซต แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต A.
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เมื่อนักคณิตศาสตร์เขียน 4! เครื่องหมายตกใจ
MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ (Relations)
Matrix and Determinant
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
แฟกทอเรียล (Factortial)
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย. เมตริกซ์ (Matrices) เมตริกซ์ คือ การจัดเรียง จำนวนให้อยู่ในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งประกอบด้วย แถว (Row) และ หลัก (Column)
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ขั้นตอนวิธีของยุคลิด
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
เมทริกซ์ (Matrix) Pisit Nakjai.
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
การหาอินเวอร์สการคูณของเมทริกซ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6 เมทริกซ์ประชิด ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6

บทนิยาม ให้ A เป็น n  n เมทริกซ์ A เป็นเมทริกซ์เอกฐาน (singular matrix) เมื่อ det(A) = 0 A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน (non - singular matrix) เมื่อ det(A)  0 บทนิยาม ให้ A เป็น n  n เมทริกซ์ เมื่อ n > 2 เมทริกซ์ผูกพัน (adjoint matrix) ของ A คือ เมทริกซ์ [Cij(A)]t เขียนแทนเมทริกซ์ผูกพันของ A ด้วย adj(A)

ตัวอย่าง จงหา det(A) , adj(A) , Aadj(A) , adj(A)A เมื่อกำหนด วิธีทำ = (6+1) - 2(- 4 - 3) + 3(- 2 + 9) = 7 + 14 + 21 = 42

จากตัวอย่าง จะเห็นว่า Aadj(A) = adj(A)A=det(A)I3 ดังนั้น ถ้า A เป็น n  n เมทริกซ์ แล้ว Aadj(A) = adj(A)A=det(A)In

ทฤษฎีบท ให้ A เป็น n  n เมทริกซ์ เมื่อ n > 2 ดังนั้น จะได้ว่า ดังนั้น จะได้ว่า 1. Aadj(A) = adj(A)A=det(A)In 2. A มีตัวผกผันการคูณก็ต่อเมื่อ A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน ในกรณี det(A)  0 ได้ว่า ทฤษฎีบท ให้ A และ B เป็น n  n เมทริกซ์ ดังนั้น det(AB) = det(A)det(B)

ถ้า A = [aij]n x n , B = [bij]n x n และ AB = In แล้ว det(AB) = det(In) = 1 จาก AB = In และ det(A)  0 ทำให้ได้ว่า A มีตัวผกผันการคูณ ดังนั้น AB = In A-1AB = A-1In B = A-1 นั่นคือ

ตัวอย่างที่ 1 จงหา det(A) และ det(A-1) เมื่อกำหนด วิธีทำ นำแถวที่ 1 ไปบวกกับแถวที่ 4 จะได้

คูณแถวที่ 1 ด้วย – 2 แล้วนำไปบวกกับแถวที่ 3 จะได้ คูณแถวที่ 1 ด้วย – 1 แล้วนำไปบวกกับแถวที่ 2 จะได้

= (1)(2)(1)(3) = 6 จาก จะได้

ตัวอย่างที่ 2 จงหา A-1 เมื่อกำหนด 32 6 วิธีทำ เนื่องจาก -8 -24  det(A) = (-8 + 0 – 24) – (32 + 0 + 6) = - 70  0 ดังนั้น A มีตัวผกผัน

จาก

ถ้า A เป็น n  n เมทริกซ์ เมื่อ n > 2 และ det(A)  0 แล้ว det(adj(A)) = (det(A))n – 1 ตัวอย่างที่ 3 กำหนด A , B และ C เป็น n  n เมทริกซ์ เมื่อ n > 2 และdet(A) = 3 , det(B) = 2 และ det(C) = - 3 จงหา det(A2BCtB-1) และ det(BC-1AB-1C-1) วิธีทำ det(A2BCtB-1) = det(A2)det(B)det(Ct)det(B-1) det(BC-1AB-1C-1) = det(B)det(C-1)det(A)det(B-1)det(C-1)