Computer Game Programming

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
Advertisements

Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer programming
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 14: โปรแกรมย่อย ( การส่งพารามิเตอร์ แบบ pass by reference)
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เกม คณิตคิดเร็ว.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
IP-Addressing and Subneting
Number system (Review)
IP-Addressing and Subneting
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 3 ชนิดข้อมูลและการแทนชนิดข้อมูลการประกาศตัวแปร.
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 4 เครื่องหมาย ตรรกะศาสตร์ และการดำเนินการทางตรรกะศาสตร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล
BC320 Introduction to Computer Programming
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
Virus Computer.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
ระบบบริหารข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ITAM)
Week 5 C Programming.
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
Variable Constant.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array Sanchai Yeewiyom
Array: One Dimension Programming I 9.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
พอยเตอร์ #include <stdio.h> void main() { int age; int *pointer;
ฟังก์ชันของโปรแกรม ฟังก์ชันในโปรแกรม (โปรแกรมภาษา C#) มีฟังก์ชันให้ใช้งานอยู่หลากหลายฟังก์ชัน โดยมีรูปแบบเฉพาะ และการเข้าถึงที่มีลักษณะแตกต่างกัน ในบทนี้จะแสดงเนื้อหาในการใช้งานของฟังก์ชันต่างๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Computer Game Programming ตัวแปร และชนิดข้อมูล ในการเขียนโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ ผู้พัฒนาโปรแกรมควรทราบถึง ความหมายของตัวแปร ประเภท ชนิดของข้อมูลและโอเปอเรเตอร์พื้นฐาน เพื่อนำไปพัฒนาโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้องและการเลือกใช้ชนิดข้อมูลตรงกับ ความต้องการของโปรแกรม และทำให้การใช้ทรัพยากรของเครื่องคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพ

เนื้อหา ความหมายของตัวแปร และการใช้งาน ชนิดข้อมูลพื้นฐาน โอเปอเรเตอร์พื้นฐาน ตัวอย่างการใช้งานข้อมูลประเภทต่างๆ

ชนิดข้อมูลพื้นฐาน ชนิดข้อมูลพื้นฐาน มีดังนี้ - ชนิดตัวเลข (numeric type) - ชนิดตัวอักษร (charactertype) - ชนิดตรรกะ (boolean type) - ชนิดวันที่ (date type) - ชนิดวัตถุ (object type)

ขนาดและช่วงข้อมูล ของตัวแปรชนิดตัวเลข ชนิดของตัวแปร ขนาดความจุ ช่วงข้อมูล Byte 8-bit มีค่าระหว่าง 0 ถึง 255 Short 16-bit มีค่าระหว่าง –32,768 ถึง 32,767 Integer 32-bit มีค่าระหว่าง –2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 Long 64-bit มีค่าระหว่าง –9,223,372,036,854,775,808 ถึง 9,223,372,036,854,775,807 Single มีค่าระหว่าง –3.4028235E+38 ถึง –1.401298E–45 สำหรับค่า ลบ; 1.401298E–45 ถึง 3.4028235E+38 สำหรับค่าบวก Double มีค่าระหว่าง 1.79769313486231570E+308 ถึง – 4.94065645841246544E–324 สำหรับค่าลบ; 4.94065645841246544E–324 ถึง 1.79769313486231570E+308 สำหรับค่าบวก Decimal 128-bit มีค่าระหว่าง 0 through +/– 79,228,162,514,264,337,593,543,950,335 เมื่อไม่มีจุด ตำแหน่งทศนิยม; 0 through +/–7.9228162514264337593543950335 เมื่อมีทศนิยม 28 ตำแหน่ง

ตัวอย่าง การประกาศตัวแปร ข้อมูลชนิดตัวเลข int i, j, k; int myInt = 5; float f, salary; double d;

ตัวดำเนินการพื้นฐาน (Operator) โปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ มีตัวดำเนินการพื้นฐานที่ใช้ในการคำนวณ มีดังต่อไปนี้ 1) ตัวดำเนินการเท่ากับ ใช้เครื่องหมาย = 2) ตัวดำเนินการคูณ ใช้เครื่องหมาย * 3) ตัวดำเนินการหาร ใช้เครื่องหมาย / 4) ตัวดำเนินการบวก ใช้เครื่องหมาย + 5) ตัวดำเนินการลบ ใช้เครื่องหมาย – 6) ตัวดำเนินการหารคิดเฉพาะเศษ ใช้เครื่องหมาย %

ตัวดำเนินการพื้นฐาน (Operator) การลดรูปของเครื่องหมาย (short and assignment operators) เป็นวิธีการทำให้การเขียนตัวดำเนินการมีขนาดสั้นลง ตัวอย่าง เช่น ถ้าต้องการเพิ่มค่าอีก 1 ให้กับตัวแปร สามารถเขียนคำสั่งได้คือ Count = Count+1 หรือสามารถทำการลดรูปเป็น Count+=1 หรือสามารถทำการเพิ่มค่าทีละ 1 โดยใช้เครื่องหมาย Count++ ถ้าต้องการลดค่าอีก 1 ให้กับตัวแปร สามารถเขียนคำสั่งได้คือ Count = Count-1 หรือสามารถทำการลดรูปเป็น Count-=1 หรือสามารถทำการลดค่าทีละ 1 โดยใช้เครื่องหมาย Count--

ตัวอย่างโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ในการประกาศตัวแปร และการใช้งาน using UnityEngine; using System.Collections; public class VariablesAndFunctions: MonoBehaviour { intmyInt= 5; void Start () myInt= MultiplyByTwo(myInt); Debug.Log (myInt); } intMultiplyByTwo(int number) int ret; ret = number * 2; return ret;

ตัวอย่างโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ในการประกาศตัวแปร และการใช้งาน intplayerScore; float valuePi; bool isAlive; playerScore = 0; valuePi = 3.141f; isAlive = true;

เข้าใจความหมายของตัวแปร การใช้งาน ชนิดข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์โอเปอเรเตอร์พื้นฐาน พร้อมทั้งตัวอย่างการใช้งานข้อมูลประเภทต่างๆ ซึ่งจะเป็นความรู้พื้นฐานในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่อไป สามารถเลือกใช้ชนิดข้อมูล กำหนดชนิดข้อมูลได้ถูกต้อง ตามความต้องการการใช้งาน และการเลือกใช้เครื่องหมายโอเปอเรเตอร์ พร้อมความเข้าใจผลลัพธ์