File.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

The InetAddress Class.
File.
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
LOGO Array. ประเภทของ Array - อาเรย์ 1 มิติ (One) - อาเรย์ 2 มิติ (Two) - อาเรย์ 3 มิติ (Three) 2.
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
บทที่ 4 Method (1).
File I/O (1) โปรแกรมจะอ่านหรือเขียนข้อมูลผ่านท่อส่งข้อมูล (Stream)
String Class มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
input from keyboard มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 7 มิถุนายน 2556 Text File Processing มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 22 มิถุนายน 2550 ความผิดพลาดที่พบ บ่อย มหาวิทยาลัยเนชั่น.
ทำงานกับ File และStream
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
บทที่ 3 Class and Object (2).
บทที่ 2 การแสดงผลและรับข้อมูล
บทที่ 4 คำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การจัดการกับความผิดปกติ
Variable, Data type, Expression, Operators Data input, Data output
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
Java Network Programming – Network Operating Systems and Protocols Choopan Rattanapoka.
JSP ติดต่อฐานข้อมูล.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
1.  Flash เป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพสูง สำหรับงานด้านกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว ตลอดจนมัลติมีเดียสำหรับเว็บ โดย ลักษณะเด่นของภาพเคลื่อนไหวที่ได้จาก โปรแกรม.
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
MTH 261 File Management. File Management File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด โครงสร้างโปรแกรม public class HelloWorld { public static void main(String[] args) { System.out.println(“Hello World”);
SR Latch SR Latch ต้องรอ negative edge เพื่อให้ Q = D Y = D Q = Y.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การติดต่อกับฐานข้อมูล(MySQL)
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
WEEK5-2: 14 SEP 2017 Input / Output Selection Statement
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Handling Exceptions & database
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา (Overview of Java Programming Language)
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
Chapter 5 การจัดการข้อผิดพลาด (Exception Handling)
ไมโครคอนโทรลเลอร์ บทที่ 11.
โครงสร้างภาษา C Arduino
ตัวอย่างการสร้างแม่แบบ(template)
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
Creating And Using Exceptions
Object-Oriented Programming Paradigm
Java Translation Object and Class ในมุมมองคอมพิวเตอร์ Objects หรือ Instances หมายถึงวัตถุที่กำเนิดตัวตนจริงๆจากต้นแบบที่กำหนดโดยคลาส Object.
นายไชยวัฒน์ วิเชียรไชย ตำแหน่ง ครู โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์
Method and Encapsulation
Inheritance and Encapsulation
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Week 5 C Programming.
Client/Server Application (FilE server)
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
การจัดบล๊อคและบัฟเฟอร์ (Blocking and Buffering)
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

File

อ่านไฟล์ แสกนเนอร์นี้จะอ่านไฟล์จาก input.txt File inFile = new File(“input.txt”); Scanner in = new Scanner(inFile); ต่อจากนี้ก็ใช้ next, nextLine, nextInt ของ Scanner อ่านไฟล์ได้ตามใจ

เขียนไฟล์ PrintWriter out = new PrintWriter(“output.txt”); ถ้ามีไฟล์อยู่แล้ว ไฟล์จะถูกล้างทิ้ง แต่ถ้าไม่มีไฟล์ ไฟล์เปล่าๆจะถูกสร้างขึ้นให้เรา ถ้ามี File object อยู่แล้ว ก็ใช้ File object เป็นพารามิเตอร์ก็ได้ out.println(…..) ก็จะถูกเรียกใช้ได้ เวลาจะเลิกเขียนอะไรลงไฟล์แล้ว อย่าลืม out.close();

ตัวอย่างโปรแกรม อ่านไฟล์หนึ่ง แล้วไปเขียนลงอีกไฟล์ โดยเติมหมายเลขบรรทัดลงไปด้านหน้าข้อความทุกบรรทัด I am Sam. I am a man. /* 1 */ I am Sam. /* 2 */ I am a man.

import java. io. ; import java. util import java.io.*; import java.util.*; public class LineNumberer { public static void main(String[] args) throws FileNotFoundException { Scanner console = new Scanner(System.in); System.out.print("Input File: "); String inputFileName = console.next(); System.out.print("Output file: "); String outputFileName = console.next();

จะมีประโยชน์ตอนใช้กับ in.nextDouble() File inputFile = new File(inputFileName); Scanner in = new Scanner(inputFile); // May not find the specified file. PrintWriter out = new PrintWriter(outputFileName); int lineNumber = 1; while (in.hasNextLine()) { String line = in.nextLine(); out.println("/* " + lineNumber + " */ " + line); lineNumber++; } in.close(); out.close(); จะมีประโยชน์ตอนใช้กับ in.nextDouble()

ซึ่งอ่านทีละบรรทัดเราจะสามารถเอาทั้งบรรทัดมาใช้ต่อได้ เช่น int i=0; While (!Character.isDigit(line.charAt(i))){ i++; } เช่น ใช้กับไฟล์ที่บนหนึ่งบรรทัด มี ชื่อประเทศ ตามด้วยตัวเลขแสดงจำนวนประชากร String countryName = line.substring(0,i); String population = substring(i); int populationValue = Integer.parseInt(population.trim());

Reading one word at a time while(in.hasNext()){ String input = in.next(); System.out.println(input); } อ่านทีละคำ แต่คำๆหนึ่งคั่นด้วย เว้นวรรค tab หรือ new line เท่านั้น ดังนั้น Snow. 22234 C++ ก็ถือเป็นหนึ่งคำเช่นกัน

ถ้าจะเอาส่วนที่ไม่ใช่คำ ทิ้งไปล่ะ Scanner in = new Scanner(…); In.useDelimiter(“[^A-Za-z]+”);

นิดหน่อย กับ nextDouble มันไม่เอา white space ข้างหลังออกให้นะ สมมิติเรียก nextInt() กับ 1729\nHarry จะเหลือ \nHarry

Reading 1 character at a time Scanner in = new Scanner(…); In.useDelimiter(“”); while (in.hasNext()){ char ch = in.next().charAt(0); // คราวนี้ก็เล่นกับ ch ได้ตามใจ } บังคับตรงนี้นั่นเอง