การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศ โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
ผู้เล่นในเกมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประชาชน กลุ่มชน รัฐ ภูมิภาค องค์การระหว่างประเทศ ประชาคมโลก
ผลประโยชน์ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การแสดงออกซึ่งความต้องการของประชาชน ผลประโยชน์ของรัฐ ผลตอบแทนที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างตัวตน การสร้างอิทธิพล และอำนาครอบงำ การสร้างโอกาสโดยอำนาจ - กายภาพ โครงสร้าง วัฒนธรรม การขยายเครือข่าย ความสัมพันธ์ สิทธิเสรีภาพอย่างเสมอภาค สันติภาพ ความมั่งคั่ง
เวทีของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ทุกเวทีที่มีผู้เล่นระหว่างประเทศมากกว่า หนึ่งตัวตน พรมแดนระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน อนุภูมิภาค ภูมิภาค ประชาคมโลก โลก – รัฐ – ประชาชน
กติกาของเกมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คติธรรม ศีลธรรม ธรรมเนียม ข้อตกลง ความเป็นเพื่อนบ้าน จารีตธรรมเนียมการบังคับตามความเชื่อ และการปฏิบัติของรัฐ สนธิสัญญาระหว่างรัฐ องค์การระหว่างประเทศ หลักกฎหมายทั่วไป คำสอนของนักนิติศาสตร์ ความสัมพันธ์ทางอำนาจเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างประเทศ การบูรณาการกฎ บรรทัดฐานต่างๆเป็นกติกาใหม่
รางวัล และโทษทัณฑ์ในข้อพิพาทระหว่างประเทศ การประณาม - การชื่นชม การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต - เจริญสัมพันธ์ทางการทูต การตัดความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการเมือง - สถาปนาความสัมพันธ์ การตัดสิทธิประโยชน์ - แลกเปลี่ยนสิทธิประโยชน์ การบีบบังคับทางเศรษฐกิจ -เสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การบีบบังคับโดยมติองค์การระหว่างประเทศ - อำนาจอธิปไตย การส่งกองกำลังรักษาสันติภาพเข้าจำกัดอำนาจอธิปไตย – บูรณภาพ องค์การะหว่างประเทศโดยเฉพาะ คณะมนตรีความมั่นคงมีอำนาจสูง
การจัดการในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การเจรจาระหว่างคู่กรณี การไกล่เกลี่ยโดยผู้เป็นกลาง รัฐ การประนีประนอมโดยผู้เป็นกลาง รัฐขอให้องค์การระหว่างประเทศเป็นผู้จัดการ การจัดการโดยกฎหมายและผู้เชี่ยวชาญ (นอกศาล) การจัดการโดยกฎหมาย (ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ) การจัดการกับรัฐที่ละเมิดประชาชน (SC&ICC)
การระงับข้อพิพาทความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การเจรจาต่อรองทางการทูตระหว่างคู่กรณี การไกล่เกลี่ยโดยรัฐเป็นกลางในกระบวนการยุติธรรม การประนีประนอมโดยรัฐ องค์การที่คู่กรณีวางใจ การใช้กระบวนการภายในองค์การระหว่างประเทศ การจัดการโดยกฎหมายและผู้เชี่ยวชาญ (อนุญาโตตุลาการ) การจัดการโดยกฎหมาย (ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ICJ) การจัดการกับรัฐที่ละเมิดประชาชน (SC&ICC)
การระงับข้อพิพาทคดีเมืองระหว่างประเทศ ข้อพิพาทในเรื่องอธิปไตยของรัฐ การรุกราน และการใช้ความรุนแรง การละเมิดสิทธิมนุษยชนของรัฐชาติ กับความรับผิดชอบในการปกป้อง การสะสมกำลังอาวุธอานุภาพทำลายร้ายแรง การแย่งชิงทรัพยากรระหว่างรัฐ และฟื้นฟู รักษาสิ่งแวดล้อม การแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ความรับผิดของรัฐ ความรับผิดของปัจเจกชนในเขตอำนาจสากล
กรณีศึกษา คดีเขาพระวิหาร คดีอิสราเอล-ปาเลสไตน์ คดีเกาหลีเหนือ คดีอิหร่าน คดีอิรัก-คูเวต คดีอิรัก-อเมริกา คดีอัฟกานิสถาน-อเมริกา คดีอาชญากรสงครามทั้งหลาย – WWII, ยูโกสลาเวีย, เขมร, รวันดา
การระงับข้อพิพาทคดีบุคคลระหว่างประเทศ คดีธุรกิจระหว่างประเทศ คดีสัมปทานทรัพยากรของรัฐ คดีสัมปทานบริการสาธารณะ คดีแพ่งระหว่างประเทศ คดีละเมิดระหว่างประเทศ คดีสัญชาติบุคคล? คดีอาญาระหว่างประเทศ?
กรณีศึกษา สัญญาระหว่างบริษัทขายรถยนต์ สัญญาขุดเจาน้ำมันและเหมืองแร่ สัญญาสร้างทางด่วน คดีหย่าร้าง แย่งเด็ก คดีโรงงานข้ามชาติก่อมลพิษแก่ชุมชน คดีขอถอนสัญชาติ ถอนพาสปอร์ต? คดีส่งผู้ร้ายข้ามแดน?
อุปสรรคในการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศ ผู้เล่นมีอำนาจต่อรองไม่เท่ากันตามธรรมชาติ ผู้เล่นมีทุนทางสังคม เศรษฐกิจ อิทธิพล บารมีต่างกัน ความแตกต่างหลากหลายทางสังคม และวัฒนธรรม ข้อพิพาทมีลักษณะซับซ้อน ต้องคำนึงถึง ผู้/ความเสียหาย การเสียโอกาสของผู้กระทำผิดและเหยื่อ – เยียวยา/แก้ไข การเสียความสัมพันธ์ทางสังคม
บทเรียนในการระงับข้อพิพาททางอาญา การสร้างสมดุลอำนาจต่อรองให้คู่กรณีไม่เสียเปรียบนัก เลือกใช้กฎหมาย/วิธีการสอดคล้องกับทุนทางสังคมคู่กรณี คำนึงถึงความหลากหลายทางสังคม และวัฒนธรรม การระงับข้อพิพาทโดยได้ผลยุติแล้วอยู่ร่วมกันได้ การระงับข้อพิพาทโดยไม่เสียโอกาส – เยียวยา/แก้ไข การรักษาความสัมพันธ์ทางสังคมแม้มีข้อพิพาท
ลู่ทางในการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศ การทูตเชิงป้องกัน การรวมกลุ่มของรัฐเชิงภูมิประเทศ เชิงยุทธศาสตร์ การเพิ่มรัฐที่มีบทบาทจริงเข้าไปในกลไกสำคัญ เช่น SC ผู้ตรวจการ การใช้มาตรการตามหลักความรับผิดชอบในการปกป้อง การปฏิรูประบบองค์การสหประชาชาติ (Rule-Based & GoodGovernance) การส่งเสริมให้ใช้กลไกเยียวสิทธิมนุษยชน-ศาลอาญาระหว่างประเทศ การจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพถาวรของสหประชาชาติ สันติวิธีที่หลากหลาย – ผู้นำจิตวิญญาณ การทูตไม่เป็นทางการ