Product champion: สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
2 ตาม พ. ร. บ. ระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ. ศ ******************* กำหนดให้ อ. ก. พ. กระทรวง เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่
Advertisements

การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการใช้โปรแกรมสำนักงานของผู้เรียนอาชีวศึกษา
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์ ฝ่ายบริหารทั่วไป
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
สรุปข้อตกลงเรื่องการจัดทำเอกสารวิชาการ สายงานพยาบาลวิชาชีพ ประกายแก้ว ก๋าคำ หัวหน้าพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ 3 สิงหาคม2559 ณ คงการ์เด้นท์รีสอร์ท.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การจัดตั้งและการดำเนินงาน ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.)
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
COMPETENCY DICTIONARY
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
การจัดทำหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีและผลการใช้หลักสูตรฯ ประจำปี 2559.
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
บุคลากรในรพ.รพ.แห่งละ 5 คน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Product champion: สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก นำเสนอโดย นางสาวอุษา วงทวี นักวิชาการสาธารณสุข สำนักส่งเสริมสุขภาพ

วัตถุประสงค์ของสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 1.ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ บุคคลในครอบครัว ใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กในการเฝ้าระวังสุขภาพของตนเอง 2.เพื่อเป็นเครื่องมือของหญิงตั้งครรภ์ บุคคลใน ครอบครัว ใช้ศึกษาหาความรู้ในการปฏิบัติตัว เพื่อให้เกิดการมีสุขภาพดีและเกิดความตระหนักในการส่งเสริมสุขภาพของตนเอง

ลักษณะสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก จำนวนพิมพ์ 1,000,000 เล่ม ระบบพิมพ์ ขนาด เอ 5 จำนวน 80 หน้า ไม่รวมปก เนื้อหา มี 3 ส่วน ส่วนที่ 1 บริการหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว ส่วนที่ 2 บริการเด็กแรกเกิด-6 ปี ส่วนที่ 3 ความรู้สู่การปฏิบัติเพื่อแม่-ลูกสุขภาพดี ดี เก่ง สุข (ประสานกรมสุขภาพจิต)

วัตถุประสงค์ของโครงการฯ Product champion เพื่อประเมินความคิดเห็นผู้ใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก ด้านเนื้อหา รูปแบบ การบริหารจัดการ และการนำไปขยายผล

ระเบียบวิธีวิจัย กลุ่มตัวอย่าง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ 3.2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ 1 คือ บุคลากรทางการแพทย์หรือสาธารณสุข โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ดังนี้ 1) กลุ่ม Provider คือ หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ และผู้รับผิดชอบงานด้านแม่และเด็ก เขตละ 3 ราย 2) กลุ่ม End User คือ บุคลากรทางการแพทย์หรือสาธารณสุข ทำงานในสถานบริการสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายและมีประสบการณ์ใช้หรือจดบันทึกลงสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก อย่างน้อย 3 ปี เขตละ 60 ราย (อารีวรรณ ตันติเศรษฐ) รวม 720 ราย

ระเบียบวิธีวิจัย 3.2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ 2 คือแม่ของเด็กหรือผู้เลี้ยงดูเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เก็บข้อมูล ณ จุดเวลา (ภาคตัดขวาง: Cross-Sectional Studies) การคำนวณขนาดตัวอย่าง โดยใช้สูตรKrejcie & Morgan, 1970 จากการคำนวณได้จำนวนตัวอย่างเขตบริการสุขภาพ ละ 384 ราย ซึ่งผู้วิจัยจะเก็บข้อมูลเขตละ 400 ราย ดังนี้ N = จำนวนเด็กช่วงอายุแรกเกิด จนถึง 5 ปี แต่ละเขตบริการสุขภาพ กำหนดขนาดตัวอย่างที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (k = 1.96) ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ไม่เกิน 10% (E’≤0.10) , P = 0.5 Q = 1-P

ตารางกลุ่มตัวอย่างแต่ละเขต เขตบริการสุขภาพ provider End User รวม บุคลากรสาธารณสุข แม่ของเด็กและผู้เลี้ยงดู สสจ. ศอ. จนท.ใช้สมุด 1 2 60 400 463 3 4 5 6

ตารางกลุ่มตัวอย่างแต่ละเขต (ต่อ) เขตบริการสุขภาพ provider End User รวม บุคลากรสาธารณสุข แม่ของเด็กและผู้เลี้ยงดู สสจ. ศอ. จนท.ใช้สมุด 7 2 1 60 400 463 8 9 10 11 12 รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งประเทศ 5,556

เครื่องมือที่ใช้วิจัยและเอกสารประกอบการวิจัย เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถาม ได้แก่ 1.แบบประเมินสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (MCB 1:Provider) 2. แบบประเมินสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (MCB 2:End User) เอกสารประกอบการวิจัย ได้แก่ 1. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย (Pdf.) 2. คู่มือการใช้แบบประเมินสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (Pdf.) 3. คู่มือการลงรหัส SPSS (Pdf.) 4. เอกสารลงรหัส SPSS (Excel) 5. ไฟล์ SPSS เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล

MCB 1: Provider MCB 2: End User