พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
Advertisements

หลักการตลาด บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค.
พฤติกรรมผู้บริโภคกับการสื่อสารการตลาด
เรียนรู้ลูกค้า – เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค
Learning Theory Dr.Chawanun Charnsil.
บทที่ 2 กระบวนการทางจิตวิทยาของผู้ใช้
วิชา การตลาดระหว่างประเทศ
การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
บทที่ 3 การสื่อสารการตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
กระบวนการตัดสินใจซื้อ (Buying Decision Process)
ความแตกต่างส่วนบุคคลและพฤติกรรมผู้บริโภค
ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค (Model of Consumer Behavior)
กระบวนการทางจิตวิทยาและพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมการซื้อ (Buying Behavior)
พฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม
Family assessment and Home health care
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กับการบรรจุแต่งตั้ง.
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI โดย อาจารย์วาสนา สังข์พุ่ม
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
โครงการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้ตรวจสอบภายในภาครัฐ
จิตวิทยาการเรียนรู้.
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theories)
Management Tools & Models Episode IV
Learning Theory Dr. Sumai Binbai.
ความรู้เบื้องต้นการส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก
Peace Theory.
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
บทที่ 3 ปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมนุษย์
พฤติกรรมการซื้อ Buyer Behavior
บทที่ 3 การวิเคราะห์ตลาดและคู่แข่งขัน
แนวคิด ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer’s Decision Making)
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
การแบ่งส่วนการตลาด (Market Segmentation)
SERVICE MARKETING พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
วิทยุกระจายเสียง ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สมรรถนะของข้าราชการ กลุ่มงานบริการประชาชน ด้านสุขภาพและสวัสดิการ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม (Social & Culture Change)
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
การประเมินผลการเรียนรู้
การแบ่งส่วนตลาดและการตลาดเป้าหมาย (Market Segmentation and Targeting)
บทที่ 6 การแบ่งส่วนตลาด การตลาด เป้าหมาย และการวางตำแหน่ง ผลิตภัณฑ์
การกำหนด STP Segmentation Target Positioning
อาจารย์เศวตาภรณ์ ตั้งวันเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทที่ 5 ภาวะผู้นำ และการจูงใจ
กระบวนการเรียนรู้ของผู้บริโภค
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
กระบวนการรับรู้ของผู้บริโภค
บทที่ 5 ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แนวความคิดและทฤษฎีการจัดการ Concept and Management Theory
TIM2303 การขายและการตลาด ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
พฤติกรรมผู้บริโภค 8 ตลาดผู้บริโภคและพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค
ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค (Model of Consumer Behavior)
บทที่ 5 ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค
ปัญหา อุปสรรคและแนวโน้มการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
เปิดทัศนคติและการวิเคราะห์บุคคล และมองคนด้วยหลักจิตวิทยาและพฤติกรรมบุคคลเพื่อเสริมสร้างความสำเร็จในงาน รศ.ดร.ทองฟู ศิริวงศ์
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 5
Working with the families of the Midlife
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
HLI3208 วัฒนธรรม (Culture) Session II
บทที่ 3 พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
เกษตรอำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 ปัจจัยที่จำเป็นต่อการพัฒนาหลักสูตร
TQS : Total Quality Service การบริการคุณภาพทั่วองค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior) บทที่ 3 พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior) บทที่ 3

ผู้ซื้อและพฤติกรรมผู้ซื้อ ผู้ซื้อ (Buyer) หมายถึง “บุคคลที่ไปทำการซื้อจริงในกระบวนการซื้อ” ลูกค้า (Customer) ผู้ที่ได้ทำการซื้อสินค้าหรือคาดว่าจะซื้อสินค้าของธุรกิจ ประกอบด้วยผู้บริโภคและผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม ผู้บริโภค (Consumer) หรือผู้บริโภคขั้นสุดท้าย (Ultimate Consumer) หมายถึง ผู้ที่ซื้อสินค้าไปเพื่อการใช้ส่วนตัวและครอบครัวหรือการใช้ขั้นสุดท้ายสำหรับตลาดสินค้าบริโภค (Consumer Market) บทที่ 3

ผู้ซื้อและพฤติกรรมผู้ซื้อ ผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม (Industrial User) หมายถึง ผู้ซื้อสินค้าไปเพื่อใช้ในการผลิต การให้บริการ หรือการดำเนินงานของธุรกิจ สำหรับตลาดสินค้าอุตสาหกรรม (Industrial Market) พฤติกรรมผู้ซื้อ (Buyer Behavior) คือ “กระบวนการตัดสินใจและการกระทำของบุคคลที่เกี่ยวกับการซื้อและการใช้สินค้า” บทที่ 3

แผนภาพแสดงประเภทของลูกค้าของธุรกิจ ผู้บริโภคหรือผู้ที่ซื้อสินค้า ไปใช้ส่วนตัวและครอบครัว ผู้ซื้อ ลูกค้าของธุรกิจ ผู้ใช้ทางอุตสาหกรรมคือผู้ที่ซื้อ สินค้าไปเพื่อผลิต ให้บริการ หรือ ดำเนินธุรกิจ บทที่ 3

ปัจจัยภายในที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการซื้อ การจูงใจ (Motivation) การรับรู้ (Perception) การเรียนรู้ (Learning) บุคลิกภาพ (Personality) ทัศนคติ (Attitudes) บทที่ 3

การจูงใจ การจูงใจ (Motivation) แรงจูงใจ (Motive) บทที่ 3

ทฤษฎีการจูงใจของมาสโลว์ (Maslow’s theory of motivation) ความต้องการด้านกายภาพหรือร่างกาย (Physiological needs) ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs) ความต้องการความรักและการยอมรับ (Love and Belongingness needs) ความต้องการการยกย่องนับถือ (Esteem needs) ความต้องการได้รับความสำเร็จสูงสุดในชีวิต (Self-Actualization needs) บทที่ 3

การรับรู้ การรับรู้มีความสำคัญต่อผู้กำหนดกลยุทธ์การตลาดหลายประการดังนี้ เนื่องจากการรับรู้ของบุคคลมีลักษณะเป็นการเลือกสรร (Selective) การรับรู้ของบุคคลจะมีความเกี่ยวข้องกับแนวความคิดของกระบวนการของข้อมูล (Concept of information processing) ขั้นที่ 1 การเปิดรับข้อมูล (Exposure) ขั้นที่ 2 การตั้งใจรับรู้ข้อมูล (Attention) ขั้นที่ 3 ความเข้าใจ (Comprehension) ขั้นที่ 4 การยอมรับ (Acception) ขั้นที่ 5 การเก็บรักษา (Retention) แนวความคิดเรื่องความเสี่ยง (Concept of risk) บทที่ 3

การเรียนรู้ ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการตลาดมีดังนี้ ทฤษฎีการกระตุ้นและการตอบสนอง (Classical conditioning or stimulus-response theories) แรงกระตุ้น (Drive or Motive) สัญญาณ (Cue) การตอบสนอง (Response) สิ่งสนับสนุน (Reinforcement) ทฤษฎีว่าด้วยเงื่อนไขการปฏิบัติ (Operant conditioning or instrumental learning) บทที่ 3

การเรียนรู้(ต่อ) ทฤษฎีเกสตอลท์หรือทฤษฎีฟิลด์ (Gestall or Field theory) ทฤษฎีว่าด้วยความเข้าใจ (Cognitive theory) บทที่ 3

บุคลิกภาพ ความเข้าใจตนเอง (The self concept or Self image) คุณลักษณะท่าทางของบุคลิกภาพ (Personality Trait) บทที่ 3

ทัศนคติ ความเข้าใจ (Cognitive) ความรู้สึก (Affective) พฤติกรรม (Conative) บทที่ 3

ปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการซื้อ วัฒนธรรม (Culture) ชั้นทางสังคม (Social Class) กลุ่มอ้างอิง (Reference Groups) ครอบครัว (Family) บทที่ 3

วัฒนธรรม วัฒนธรรมย่อย (Subculture) การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม (Cultural change) บทที่ 3

ชนชั้นทางสังคม กลุ่มชั้นสูงส่วนบน (Upper-Upper Class) กลุ่มชั้นสูงส่วนล่าง (Lower-Upper Class) กลุ่มชั้นกลางส่วนบน (Upper-Middle Class) กลุ่มชั้นกลางส่วนล่าง (Lower-Middle Class) กลุ่มชั้นต่ำส่วนบน(Upper-Lower Class) กลุ่มชั้นต่ำส่วนล่าง (Lower-Lower Class) บทที่ 3

กลุ่มอ้างอิง กลุ่มอ้างอิง หมายถึง “บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปที่มีการเกี่ยวข้องกัน และต่างมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมซึ่งกันและกัน” กลุ่มสมาชิก (Membership Group) กลุ่มที่ใฝ่ฝัน (Aspirational Group) กลุ่มที่ไม่พึงประสงค์ (Dissociative) กลุ่มปฐมภูมิ (Primary Group) บทที่ 3

ครอบครัว ครอบครัว หมายถึง กลุ่มของบุคคลซึ่งเกี่ยวข้องกันทางกำเนิด การแต่งงาน หรือการรับอุปการะ บทที่ 3

ววัฏจักรของครอบครัว ขั้นโสด (Bachelor Stage) ขั้นแต่งงาน (Young married couples with no children) ขั้นครอบครัวที่มีบุตรยังเล็ก (Full Nest I) ขั้นครอบครัวที่มีบุตรโตแล้ว (Full Nest II) ขั้นครอบครัวที่มีบุตรแยกออกไป (Empty Nest) ชั้นโดดเดี่ยว (Older Single People) บทที่ 3

กระบวนการตัดสินใจในการซื้อ การตระหนักถึงความต้องการ (Need Recognition) การค้นหาข้อมูล (Search) การประเมินผลทางเลือกต่าง ๆ (Evaluation of Alternatives) การซื้อ (Purchase) การประเมินผลหลังการซื้อ (Post-purchase Evaluation) บทที่ 3

แผนภาพแสดงกระบวนการตัดสินใจในการซื้อ การตระ หนักถึง ความต้อง การ การค้นหา ข้อมูล การประ เมินผล ทางเลือก ต่าง ๆ การซื้อ ประเมิน ผลหลัง การซื้อ บทที่ 3

แหล่งข้อมูลทางการตลาด (Formal Sources) ความพยายามทางการตลาดของบริษัท ได้แก่ การโฆษณา พนักงานขาย การจัดจำหน่าย เป็นต้น แหล่งข้อมูลที่เป็นหน่วยงาน ได้แก่ ข้อกำหนดทางวิศวกรรม ตัวอย่างและการทดสอบ รายงานผลการทำงาน สิ่งตีพิมพ์ต่าง ๆ เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์ เป็นต้น ความพยายามของรัฐบาล เช่น การกำหนดมาตราฐานสินค้า การพิจารณางานโฆษณา บทที่ 3

แหล่งข้อมูลที่ไม่เป็นทางการ (Informal Sources) ประสบการณ์ของบุคคล เช่น การเคยใช้สินค้านั้นมาก่อน ความภักดีที่มีต่อกิจการ เป็นต้น ปากต่อปาก ได้แก่ ประสบการณ์และความคิดเห็นของเพื่อน ญาติพี่น้อง และผู้คุ้นเคย ผู้นำความคิดเห็น ได้แก่ กลุ่มอ้างอิง วารสารหรือนิตยสาร เป็นต้น บทที่ 3