ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ. 2558 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 10 ตุลาคม 2558.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GHS แนวคิดและวิธีการปฏิบัติ ตามระบบการจัดกลุ่มความเป็นอันตราย
Advertisements

Safety Checked. Safety Checked. Safety Checked. Safety Checked.
Globally Harmonized System : GHS
Abilities.  Where are they?  Why are they there?  What objects can you see around them?  On the island.  The boat capsized.
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
ทพญ. เรวดี ศรีหานู. ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ.
การกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชนที่พ้นโทษ
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
ความปลอดภัยในการทำงาน
โครงการร่างกฎหมายการขนส่งสินค้าอันตรายสำหรับทุกภาคการขนส่งของประเทศ
มาตรฐานบังคับ (Official Standard)
การผลิตแบบทันเวลาพอดี(just In Time:JIT)
ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และ การติดตั้งอุปกรณ์ตกแต่งรถยนต์
LAB03 : BASIC NETWORK DESIGN
การสืบค้นข้อมูลทางเคมี
หลักการเดินสำรวจโรงงาน (walkthrough survey)
Radar Data Visualization Tableau User Manual.
พรบ. รับขนสินค้าทางทะเล 2534
INTRO MOBILE COMP ผู้สอน ชัชวิทย์ อาภรณ์เทวัญ
การบริหารคลังสินค้า.
การใช้งานและบำรุงรักษา
การจัดการต้นทุน การขนส่งทางท่อ ( Pipeline Transportation )
แนวทางการคัดกรองภาวะซีดในเด็ก และการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก ในคลินิกเด็กดี
การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
GATT & WTO.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 03 : แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว.
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ต้นทุน – ปริมาณ – กำไร
มาตรฐานสากลแห่งการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรม
ขั้นตอนการหารือและดำเนินการเพื่อนำเข้า
แผนกลยุทธ์ กรมชลประทาน
ระบบบริหารการจัดสอบ NT ACCESS.
การซักซ้อมความเข้าใจในการเบิกค่าตอบแทนให้กับเจ้าหน้าที่ ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน.
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
การสัมมนา สถานการณ์ แนวทางและ แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2557
ซักซ้อมแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทน แนบท้ายข้อบังคับกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
D 2 E 3 S E M N G ม. I G I T Vocabulary A L 4.0.
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
สวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูลของข้าราชการ
การเปลี่ยนแปลงการแสดงผลข้อมูลในระบบการแจ้งเข้า-ออกเรือประมง
การสืบค้นข้อมูลทางเคมี
การใช้เครื่องมือในงานช่างยนต์
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
Healthcare Risk management System: HRMS [ on cloud ]
ตัวชี้วัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2549
CASE STUDY : MYANMAR CHANGE OPPORTUNITY
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
การขนส่งกับการจัดการโลจิสติกส์ Transport and Logistics Management
อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี
ขั้นตอนการเบิก-จ่ายเงินให้กับผู้รับจ้าง
บทที่ 5 การวางแผนผังกระบวนการผลิต
เก็บตกวันวาน “สานพลังสร้างมาตรการองค์กร เพื่อความปลอดภัยทางถนน”
การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
#แอ่งเล็ก...เช็คอิน โดย อภิชาติ โตดิลกเวชช์.
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
Introduction to Public Administration Research Method
ลักษณะทั่วไปของการขนส่ง Transport General Features
โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ
PACK & MOVE TOTAL LOGISTICS SOLUTION
International Commercial Terms
สัญลักษณ์แสดง ความอันตรายของสารเคมี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ. 2558 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 10 ตุลาคม 2558

สรุปสาระสำคัญ 1. ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ. 2546 ลงวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2546 2. ผู้ขนส่งต้องจัดให้มีการขึ้นทะเบียนภาชนะบรรจุ และการประกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย ชีวิต หรือทรัพย์สินที่เกิดจากการขนส่ง 3. ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

สรุปสาระสำคัญ 4. ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก ผู้มีไว้ในครอบครอง และผู้ขนส่ง ซึ่งวัตถุอันตรายต้องมี (1) มีผู้ขนส่งที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนด (2) ตรวจสอบให้มีการจัดเก็บวัตถุอันตรายแยกส่วนจากสิ่งอื่น โดยทำการห่อหุ้มไม่เกิดการรั่วไหล หรือ แตกหักได้ และหากใช้วิธีการตรึงวัตถุอันตรายกับรถ หรือเรือ ต้องตรวจสอบให้มีวิธีการตรึงที่ถูกต้องตามกฎหมายกำหนด (3) แสดงเครื่องหมายหรือ คำว่า "วัตถุอันตราย" ด้วยอักษรสีแดง ติดไว้ด้านข้างยานพาหนะทั้งสองข้าง (4) ที่จอดยานพาหนะต้องมีขนาดกว้างเพียงพอต้องการดำเนินงาน (5) ตรวจสอบฉลากที่ติดอยู่ที่ภาชนะบรรจุ (6) มีเอกสารกำกับการขนส่งตามที่กฎหมายกำหนด (7) จัดทำเอกสารคำแนะนำเกี่ยวกับวัตถุอันตราย เก็บไว้เป็นเอกสารประจำรถ (8) แจ้งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับวัตถุอันตรายที่จะขนส่งต่อเจ้าหน้าที่

สรุปสาระสำคัญ ข้อกำหนดในการบรรจุวัตถุอันตรายและการใช้ภาชนะบรรจุ (1) ต้องระบุกลุ่มการบรรจุตามหลัก ขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยการขนส่งสินค้าอันตราย (UN Recommendations on the Transport of Dangerous Goods) ของวัตถุอันตรายทุกประเภท ยกเว้น ประเภทที่ 1, 2, 5.2, 6.2, 7 และ 4.1 (2) ในกรณีที่ลักษณะความเป็นอันตรายของสาร สารละลายหรือสารผสมเข้าข่ายอยู่ในประเภทวัตถุอันตรายมากกว่าหนึ่งประเภท หรือกลุ่มของสารที่แสดงไว้ด้านล่างนี้ สาร สารละลายหรือสารผสมต้องจำแนกให้อยู่ในประเภทหรือกลุ่มของสารตามลักษณะความเป็นอันตรายหลัก (3) การบรรจุวัตถุอันตรายลงในภาชนะบรรจุ ต้องดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดตามเอกสารคำแนะนำขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยการขนส่งสินค้าอันตราย (UN Recommendations on the Transport of Dangerous Goods)

สรุปสาระสำคัญ การตรวจสอบ ทดสอบภาชนะบรรจุ (1) ตรวจสอบ ทดสอบภาชนะบรรจุ ตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ตามเอกสารคำแนะนำขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยการขนส่งสินค้าอันตราย (UN Recommendations on the Transport of Dangerous Goods) หรือข้อกำหนดการขนส่งสินค้าอันตรายทางถนนของประเทศไทย (2) ให้ส่งรายงานผลการตรวจสอบทดสอบตามรอบระยะเวลาที่กำหนดสำหรับภาชนะบรรจุที่มีความจุเกิน 1,000 ลิตร ให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบภายใน 90 วัน หลังจากครบกำหนดการตรวจสอบ ทดสอบ

สรุปสาระสำคัญ การติดเครื่องหมาย ฉลาก และป้าย (1) ภาชนะบรรจุวัตถุอันตรายต้องติดฉลาก (Labeling) แสดงรายละเอียดความเป็นอันตรายของวัตถุอันตราย โดยรายละเอียดและลักษณะของฉลาก ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมว่าด้วยระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ (2) ต้องมีเครื่องหมายและป้าย (Marking and Placarding) ติดที่พาหนะขนส่งวัตถุอันตรายโดยรายละเอียดและลักษณะเครื่องหมายและป้ายให้เป็นไปตามกฎหมายเฉพาะกำหนด

สรุปสาระสำคัญ การจัดแยกและขนถ่ายวัตถุอันตราย แยกการจัดวางวัตถุอันตรายคนละประเภทออกจากกันตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด และป้องกันไม่ได้เกิดเหตุอันตรายจากการขนถ่ายหรือถ่ายเทวัตถุอันตราย ไม่ก่อให้เกิดไฟไหม้ หรือระเบิดได้ หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดประกายไฟ ต้องมีเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ความชำนาญรับผิดชอบควบคุมการขนถ่ายตลอดเวลา เอกสารคำแนะนำเกี่ยวกับวัตถุอันตราย เตรียมเอกสารดังกล่าวได้จากข้อมูลความปลอดภัยของสาร (Safety Data Sheet: SDS) โดยมีข้อมูลให้ครอบคลุมหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อวัตถุอันตราย ชื่อทางการค้า (ถ้ามี) ข้อมูลการจำแนกประเภทวัตถุอันตรายในการขนส่ง องค์ประกอบที่เป็นอันตราย คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี ข้อมูลด้านอัคคีภัยและการระเบิด ข้อมูลเกี่ยวกับอันตรายต่อสุขภาพ มาตรการด้านความปลอดภัยข้อปฏิบัติในการขนย้ายและจัดเก็บ

จบการนำเสนอ