อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
อนุภาค โมเลกุล อะตอม ไอออน 6.2 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
การออกแบบและเทคโนโลยี
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
เอกภพหรือจักรวาล(Universe) หมายถึง ระบบรวมของกาแล็กซี
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ความเค้นและความเครียด
ACCOUNTING FOR INVENTORY
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
อะตอม และ ตารางธาตุ โดย อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ความหนืด (viscosity) - 
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
General Chemistry Quiz 9 Chem Rxn I.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
ความดัน (Pressure).
บทที่ 11 พัลส์เทคนิค
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
ATOM AND STRUCTURE OF ATOM
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ

ตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีที่มีอัตราการเกิดต่างกัน 1. Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(s) + 2KNO3(aq) เกิดเร็วกว่า 2. 2Mg(s) + O2(aq) → 2MgO(s) เกิดช้ากว่า

ตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีที่มีอัตราการเกิดต่างกัน เช่น ปฏิกิริยาระหว่างธาตุหมุ่ 1A เช่น Na K กับน้ำ เกิดเร็วกว่า เช่น ปฏิกิริยาระหว่างธาตุหมุ่ 2A เช่น Mg Ca กับน้ำ เกิดช้ากว่า Animation Click here เอ แล้วทำไมปฏิกิริยา จึงเกิดได้ช้าหรือเร็วต่างกันน้า

แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 4N2O5(g) → 2NO2(g) + O2(g) H2(g) + I2(g) → 2HI(g) ลองนึกดูซิว่าแก๊สเหล่านี้ สามารถเกิดปฏิกิริยาได้อย่างไร สมบัติทั่วไปของแก๊ส ตามทฤษฏีจลน์กล่าวว่าอย่างไร

สมบัติของแก๊สตามทฤษฏีจลน์ 1.แก๊สประกอบด้วยอนุภาคจำนวนมากที่มีขนาดเล็กมาก จนถือได้ว่าอนุภาคแก๊สไม่มีปริมาตรเมื่อเทียบกับขนาดภาชนะที่บรรจุ 2. โมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันมากทำให้แรงดึงดูด และแรงผลักระหว่างโมเลกุลน้อยมากจนถือได้ว่าไม่มีแรงกระทำต่อกัน 3. โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วในแนวเส้นตรง เป็นอิสระด้วยอัตราเร็วคงที่และไม่เป็นระเบียบจนกระทั่งชนกับโมเลกุลอื่น หรือชนกับผนังของภาชนะจึงจะเปลี่ยนทิศทางและอัตราเร็ว

สมบัติของแก๊สตามทฤษฏีจลน์ 4. โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเอง หรือชนกับผนังภาชนะ จะเกิดการถ่ายโอนพลังงานให้แก่กันได้แต่พลังงานรวมของระบบมีค่าคงที่ 5. ณ อุณหภูมิเดียวกันโมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุล เคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่เท่ากัน แต่จะมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน โดยที่พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิหน่วยเคลวิน Click here เราจะใช้สมบัติของแก๊ส ตามทฤษฏีจลน์อธิบาย การเกิดปฏิกิริยาได้อย่างไร

ความร้อนของปฏิกิริยา H2(g) +I2(g) → 2HI(g) + 9 kJ/mol H-H + I-I → 2 (H-I) + 9 kJ/mol สลายพันธะ(+) สร้างพันธะ(-) แล้วต้องทำอย่างไร จึงจะสลายพันธะ ในสารตั้งต้นได้ ใช้สมบัติของแก๊ส ตามทฤษฏีจลน์ ในการอธิบาย

แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1.ทฤษฏีการชนกันของโมเลกุล -โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่ตลอดเวลา โมเลกุลเคลื่อนที่ช้าก็จะมีพลังงานจลน์ต่ำ แต่ถ้าโมเลกุลเคลื่อนที่เร็วก็จะมีพลังงานจลน์สูง ดังนั้น ถ้าโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์สูงชนกันพลังงานที่เกิดจากการชนก็ต้องสูงด้วย -เปรียบเทียบได้ง่ายๆ ได้กับการชนกันของรถยนต์ ถ้าทั้ง 2 คันเคลื่อนที่ช้า ในการชนกัน แรงที่จะกระแทกตัวผู้โดยสารก็น้อย ผู้โดยสารก็อาจจะไม่เสียชีวิตซึ่งเปรียบได้กับโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์ต่ำชนกันนั่นเองซึ่งจะมีผลทำให้พันธะในสารตั้งต้นไม่สลายตัว ส่วนถ้ารถยนต์วิ่งเร็วชนกันก็จะอธิบายได้ในทิศทางตรงกันข้าม

แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1.ทฤษฏีการชนกันของโมเลกุล แก๊ส H2 1 โมล หรือ 2 กรัม จะมีจำนวนโมเลกุล 6.02 ĭ 1023 โมเลกุล ดังนั้นถ้าเราบรรจุแก๊ส H2 และแก๊ส I2 ลงในภาชนะใบหนึ่งที่มีปริมาตรคงที่ สิ่งที่น่าจะเกิดขึ้นแน่ๆ คือ ทั้งโมเลกุลของแก๊ส H2 และแก๊ส I2 ต้องมีโอกาสชนกันแน่ๆ เพราะแต่ละตัวก็มีจำนวนอนุภาคจำนวนมาก น่าจะมีอนุภาคจำนวนมากที่ชนกันปฏิกิริยาต้องเกิดเร็วมาก แต่ทำไมยังมีปฏิกิริยาที่เกิดช้า? แสดงว่าในการชนกันทุกครั้งอาจจะไม่เกิดปฏิกิริยาเสมอไป น่าจะมีปัจจัยไหน เข้ามาเกี่ยวข้อง

แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1.ทฤษฏีการชนกันของโมเลกุล

แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1.ทฤษฏีการชนกันของโมเลกุล พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา -เปรียบเทียบกับความสูงของภูเขา รายการทาง TITV คนไทยทั้ง 9 คน จะพิชิตยอดเขา เอเวอเรสต์ได้หรือไม่ ขึ้นกับอะไร 1.จำนวนคนที่แข็งแรง2. ความสูงของภูเขา

แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1.ทฤษฏีการชนกันของโมเลกุล พิชิตได้ไหม??

แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1.ทฤษฏีการชนกันของโมเลกุล 1.จำนวนคนที่แข็งแรง เปรียบกับ จำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์สูง -ถ้าจำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์สูงมีมาก โมเลกุลชนกันได้แรง โอกาสเกิดปฏิกิริยามีมาก 2. ความสูงของภูเขา เปรียบกับ พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา -ถ้าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยามาก ปฏิกิริยาจะเกิดช้า แต่ถ้าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาน้อย ปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว โดยพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาจะหาได้จากการทดลอง

พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา

พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา

แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2.ทฤษฏีสารเชิงซ้อนกัมมันต์

แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1.ทฤษฏีการชนกันของอนุภาค - ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นได้เมื่ออนุภาคของสารตั้งต้น มีการชนกันในทิศทางที่เหมาะสมและเป็นอนุภาคที่มีพลังงานสูงพอที่จะทำให้พลังงานจากการชนกันมีค่าอย่างน้อยที่สุดเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยานั้น

แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2.ทฤษฏีสารเชิงซ้อนกัมมันต์ - สารตั้งต้นจะมีพันธะระหว่างอะตอมของสารตั้งต้นเท่านั้น เมื่อเกิดเป็นสารเชิงซ้อนกัมมันต์ ความแข็งแรงของพันธะระหว่างอะตอมของสารตั้งต้นจะลดลงและเริ่มมีพันธะอย่างอ่อนเกิดขึ้น เมื่อสารเชิงซ้อมกัมมันต์สลายตัวให้ผลิตภัณฑ์ จะมีการ สลายพันธะระหว่างอะตอมของสารตั้งต้น และมีพันธะระหว่างอะตอมสารผลิตภัณฑ์เกิดขึ้นแทนที่ สารเชิงซ้อนกัมมันต์อยู่ในภาวะที่ไม่เสถียรเพราะมีพลังงานสูงมาก สภาวะดังกล่าวนี้เรียกว่า สภาวะทรานซิชัน โดยพลังงานของสภาวะทรานซิชันจะมีค่าประมาณพลังงานก่อกัมมันต์

พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา 1.ปฏิกิริยาดูดพลังงาน พลังงานของสารตั้งต้นต่ำกว่าพลังงานของสารผลิตภัณฑ์ 2.ปฏิกิริยาคายพลังงาน พลังงานของสารตั้งต้นสูงกว่าพลังงานของสารผลิตภัณฑ์