1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :- ส่วนหน้า ส่วนกลาง ส่วนท้าย ต่อมไร้ท่อ 1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :- 1.1 ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior lobe) 1.1.1 GH (Growth Hormone) กระตุ้นการเติบโตในวัยเด็ก กระตุ้นน้ำตาล ในวัยผู้ใหญ่ 1.1.2 Prolactin กระตุ้นการสร้างน้ำนมในหญิงใกล้คลอด, คลอดใหม่ๆ
ไข่ เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น 1.1.3 Gonadotropin ฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเซลล์สืบพันธุ์มี 2 ชนิด:- 1) FSH (Follicle stimulating Hormone) ไข่ เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น กระตุ้นการสร้าง สเปิร์ม 2) LH (Luteinizing Hormone) กระตุ้น การเติบโตของสเปิร์ม การเติบโตของไข่ สุก การตกไข่ในวันที่ 14 ของรอบเดือน 1.1.4 TSH (Thyroid Stimulating Hormone) กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างและหลั่ง Thyroxin
1.1.5 ACTH (Adrenocorticotrophic Hormone) กระตุ้น Adrenal cortex สร้างและกระตุ้นฮอร์โมน 1.2 ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (Intermediate lobe) สร้างฮอร์โมน MSH (Melanocyte Stimulating Hormone) ทำหน้าที่ :- 1. กระตุ้นการสร้าง Melanin ในเซลล์สีที่ผิวหนัง (Melanocyte) ทำให้สีตัวเข้ม 2. กระตุ้นให้ Melanin กระจายทั่วไซโทพลาซึมของเซลล์ Melanocyte ทำให้สีเข้ม สัตว์เลือดเย็น สีจาง Melanin รวมกลุ่ม สีเข้ม กระจาย MSH
1.3 ต่อมใต้สมองส่วนท้าย (Posterior lobe) – ไม่ใช่เป็นแหล่งสร้างฮอร์โมนขึ้นมาเอง – เป็นแหล่งเก็บสะสมฮอร์โมนประสาท (Neurohormone) ที่สร้างจากกลุ่มเซลล์ Neurosecrotory cells in Hypothalamus ซึ่งเป็นเซลล์ประสาทที่เปลี่ยนมาสร้างฮอร์โมน – Neurohormone ที่เก็บสะสมมี 2 ชนิด :- 1. ADH (Antidiuretic hormone) หรือ Vasopressin
เพิ่มการดูด H2O กลับที่ Distal Convolute tubule และ Collecting duct จึงเรียกชื่อเป็น ADH หน้าที่ของ ADH ทำให้ Artery หดตัวแรงดันเลือดสูง จึงเรียกชื่อเป็น Vasopressin 2. oxytocin กระตุ้นการเคลื่อนไหวของสเปิร์ม การคลอดโดยทำให้ Myometrium หดตัว กระตุ้น การหลั่งน้ำนม
2. ต่อมหมวกไต (Adrenal gland) 2.1 ต่อมหมวกไตชั้นนอก (Adrenal cortex) สร้างจากฮอร์โมน 3 กลุ่ม :- 2.1.1 Glucocorticoids มีชนิดสำคัญที่สุดคือ Cortisol เพิ่มน้ำตาลในเลือด (สำคัญที่สุด) ก่อเกิดความเครียด (stress) 2.1.2 Mlneralocorticoids มีชนิดสำคัญที่สุดคือ Aldostreone เพิ่มการดูด Na+ กลับ, เพิ่มการขับ K+, Cl– ทิ้งไปกับปัสสาวะ ถ้าขาด เบาเค็ม สูญเสีย Na+ ไปกับปัสสาวะ ร่างกายซูบผอม มีรอยคล้ำ ดำ Addison disease
2.1.3 Adrenal sex hormone ได้แก่ – Testosterone – Estrogen มีปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับฮอร์โมนจากอวัยวะเพศ 2.2 ต่อมหมวกไตชั้นใน (Adrenal medulla) – สร้างฮอร์โมนประสาท (neurohormone) Adrenalin (Epinephrine) * มี 70% Noradrenalin (Norepinephrine) * มี 10% - เพิ่มน้ำตาลในเลือด - เพิ่มการเต้นของหัวใจ - เพิ่มแรงดันเดือด – เป็นฮอร์โมนที่หลั่งออกมามากในภาวะฉุกเฉิน (Emergency hormone)
3. Thyroid gland (ต่อมไทรอยด์) สร้างฮอร์โมนสำคัญ 2 ชนิด 3.1 Thyroxin กระตุ้นการเติบโตของร่างกายและสมองในวัยเด็ก ถ้าขาดในวัยเด็ก Cretinism เพิ่มน้ำตาลในเลือดและกระตุ้น Metabolism เช่นการเผาผลาญอาหารในวัยผู้ใหญ่ กระตุ้น Metamorphosis ของลูกอ๊อด กบ 3.2 Calcitonin ลดระดับ Ca2+ & PO43– ในเลือด 4. Parathyroid gland (ต่อมพาราไทรอยด์) สร้างฮอร์โมน Parathormone ไปเพิ่มระดับ Ca2+ & PO43– ในเลือด
5. Islets of Langerhans in Pancreas (ตับอ่อน) มี 250,000 – 2,500,000 ต่อม ต่อมไร้ท่อที่มี ขนาดเล็กสุด จำนวนต่อมมากสุด ประกอบด้วยเซลล์ 2 ชนิด :- เซลล์ขนาดเล็ก 5.1 -cells มีปริมาณมาก สร้าง Insulin ลดน้ำตาลในเลือด กระตุ้นให้เยื่อหุ้มเซลล์ยินยอมให้กลูโคสเข้าเซลล์ได้สะดวก (เพิ่ม Permeability ของ Cell membrane) กระตุ้นให้เซลล์สลายกลูโคส ATP กระตุ้นให้เซลล์นำกลูโคสที่เหลือมาสร้างเป็น Glycogenสะสมในตับและกล้ามเนื้อ
ปริมาณ Glucose (mg/100 cm3 blood) นอกจากนี้ Insulin ยังกระตุ้นการสร้างสารโมเลกุลใหญ่ เช่น Protein จากกรดอะมิโน Lipid จากกรดไขมัน จึงจัด Insulin เป็น Anabolic hormone เซลล์ขนาดใหญ่ 5.2 -cells มีปริมาณน้อย สร้างฮอร์โมน Glucagon ไปเพิ่มปริมาณกลูโคสในเลือดโดยกระตุ้นการสลาย Glycogen จากตับ Glucose ในเลือด ปริมาณ Glucose (mg/100 cm3 blood) 150- เบาหวาน (ขาด Insulin) คนปกติหลังกินอาหาร 100- คนปกติ hrs 1 2 3 4
6. Pineal gland สร้างฮอร์โมน Melatonin ยับยั้งการสร้าง Melanin สีตัวจาง Melanin รวมตัว สีตัวเข้ม กระจาย MSH Melanin กระตุ้นการหลั่ง GH หลั่งออกมามากเมื่อมีความมืด ยับยั้งการเติบโตทางเพศ โดยยับยั้งการเติบโตของรังไข่
7. Thymus gland สร้างฮอร์โมน Thymocin ไปกระตุ้นการสร้างและ การเติบโตของเม็ดเลือดขาว T-lymphyocyte เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน 8. ฮอร์โมนจากอวัยวะเพศ 8.1 Interstitial cells of Leydig ใน Testes สร้าง Testosterone 8.2 Graafian follicle ในรังไข่ สร้างฮอร์โมน Estrogen ควบคุม II Sex characters กระตุ้นการหนาตัวของ endometrium กระตุ้นการหลั่ง LH
8.3 Corpus luteum ในรังไข่ สร้างฮอร์โมน Progesterone ควบคุมการตั้งครรภ์ กระตุ้นการหนาตัวของ endometrium ยับยั้งการหลั่ง FSH และ LH มีให้กระตุ้นการสร้างไข่ 8.4 รก (Placenta) สร้างฮอร์โมน :- 1. HCG (Human Chorionic Gonadotropin) กระตุ้นให้ Corpus lutium สร้าง Progesterone จนอายุครรภ์ได้ 4 – 5 เดือน หลั่งหลังตั้งครรภ์ 70 วัน ปล่อยมากับปัสสาวะ จึงใช้ตรวจการตั้งครรภ์ 2. Progesterone จะควบคุมการตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์ 4 – 5 เดือน คลอด