เครื่องผ่อนแรง Krunarong.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
Kinetics of Systems of Particles A B C F A1 F A2 F C1 F B1 F B2 Particles A B C System of Particles.
Mind Mapping อ. พิมพ์ชนก หาคำ 23 เมษายน 2556.
สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y)
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
Engineering mechanic (static)
การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
โมเมนต์ของแรง คำถาม  ถ้ามีแรงกระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุหมุน
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
Gas Turbine Power Plant
พื้นที่ผิวของพีระมิด
ความเค้นและความเครียด
ACCOUNTING FOR INVENTORY
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
แรงและการเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
งานเชื่อมโลหะโดยเครื่องเชื่อมไฟฟ้า
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
แผ่นดินไหว.
World Time อาจารย์สอง Satit UP
การขอโครงการวิจัย.
SMS News Distribute Service
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
มาฝึกสมองกันครับ.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
ความดัน (Pressure).
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ขดลวดพยุงสายยาง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
Electrical Instruments and Measurements
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องผ่อนแรง Krunarong

เครื่องผ่อนแรง หมายถึง เครื่องมือที่ช่วยในการทำงานให้สำเร็จ โดยออกแรงน้อยลงเกิดความสะดวกและง่ายขึ้น เช่น คาน รอก พื้นเอียง สกรู ลิ่ม ล้อและเพลา

1 คาน(Lever) คือ เครื่องกลชนิดหนึ่งที่ใช้งัดวัตถุให้เคลื่อนที่รอบจุดหมุน (Fulcrum) มีลักษณะแข็งเป็นแท่งยาว เช่น ท่อนไม้หรือโลหะยาว คานอาจจะตรงหรือโค้งงอ เช่น ชะแลงก็ได้

ส่วนประกอบที่สำคัญในการทำงานของคาน มี 3 ส่วน คือ 1) แรงความต้านทาน ( W ) หรือ น้ำหนักของวัตถุ 2) แรงความพยายาม ( E ) หรือ แรงที่กระทำต่อคาน 3) จุดหมุนหรือจุดฟัลครัม ( F )

คานแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ คานแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ คานอันดับ 1 คือ คานที่มีจุดหมุนอยู่ระหว่างแรงความพยายามและ แรงความต้านทาน อุปกรณ์ที่จัดเป็นคานอันดับ 1 ได้แก่ ชะแลง กรรไกรตัดผ้า คีมตัดลวด กรรไกรตัดเล็บ เป็นต้น

คานอันดับ 2 คือ คานที่มีแรงความต้านทานอยู่ระหว่างแรงพยายามและจุดหมุน เครื่องใช้ที่จัดเป็นคานอันดับ 2 ได้แก่ ที่เปิดขวด รถเข็นดิน ที่ตัดกระดาษ ที่หนีบกล้วย

คานอันดับ 3 คือ คานที่มีแรงพยายามอยู่ระหว่างแรงต้านทาน และจุดหมุน เครื่องใช้ที่จัดเป็นคานอันดับ 3 ได้แก่ แหนบ ตะเกียบ พลั่ว คีมคีบถ่าน ไม้กวาดด้ามยาว

เครื่องกลประเภทคานนำหลักการของโมเมนต์มาใช้อธิบายการทำงาน โมเมนต์ของแรง(Moment of Force) หรือ โมเมนต์(Moment) หมายถึง ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุเพื่อให้วัตถุหมุนรอบจุดหมุน มีหน่วยเป็น นิวตัน-เมตร โมเมนต์ = แรง X ระยะตั้งฉากจากแนวแรงถึงจุดหมุน   (นิวตัน-เมตร) (นิวตัน) (เมตร)

คือ 1. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา 2. โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา ชนิดของโมเมนต์ โมเมนต์ของแรงแบ่งตามทิศ การหมุนมี 2 ชนิด คือ     1. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา     2. โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา

ถ้ามีแรงหลายแรงกระทำต่อวัตถุ แล้วทำให้วัตถุอยู่ในสมดุล หลักการของโมเมนต์ ถ้ามีแรงหลายแรงกระทำต่อวัตถุ แล้วทำให้วัตถุอยู่ในสมดุล จะได้ว่า ผลรวมของโมเมนต์  =   ผลรวมของโมเมนต์ ตามเข็มนาฬิกา ทวนเข็มนาฬิกา

จากรูป โมเมนต์ของแรงต้านทาน (W) = W × L1 (นิวตัน – เมตร) เป็นโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา โมเมนต์ของแรงพยายาม (E) = E × L2 (นิวตัน– เมตร) เป็นโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา

การได้เปรียบเชิงกล (mechanical advantage : M.A.) คือ อัตราส่วนระหว่างแรงต้านทาน ( W ) กับ แรงพยายาม ( E ) ซึ่งบอกให้ทราบว่าเครื่องกลที่ใช้ช่วยผ่อนแรงได้กี่เท่า การได้เปรียบเชิงกล =1 (W=E) ไม่ผ่อนแรง แต่อำนวยความสะดวก การได้เปรียบเชิงกล <1 (W<E) ไม่ผ่อนแรง เสียเปรียบเชิงกล การได้เปรียบเชิงกล >1 (W>E) ผ่อนแรง ได้เปรียบเชิงกล

Ex 1  ตัวอย่างที่ 1ไม้ยาว 4 m นำไปงัดก้อนหินหนัก 400 N ให้เคลื่อนที่ ถ้าต้องการออกแรงเพียง 100 N ควรจะนำก้อนหินก้อนเล็กๆ มาหนุนไม้ที่ตำแหน่งใด ทวนเข็มนาฬิกา   = ตามเข็มนาฬิกา     M ตาม       =         M ทวน 400 X     =  100(4 -X) 400X     =  400 - 100X      500X     =   400   X = 400/500 X = 0.8 m ตอบ ต้องนำก้อนหินเล็กหนุนไม้ห่างจากก้อนหิน ใหญ่ 0.8 m

http://www.br.ac.th/ben/science/5/index400304.html

Ex 3 คานอันหนึ่งโตสม่ำเสมอยาว 2 m น้ำหนัก 20 N และ 30 N แขวนที่ปลายคานแต่ละข้าง จะต้องแขวนเชือกอยู่ที่ใดของคาน จึงจะทำให้คานอยู่ในภาวะสมดุล วิธีทำ สมมติให้วางจุดหมุนห่างจากปลายคานที่แขวนน้ำหนัก 20 N = x เมตร เมื่อคานอยู่ในภาวะสมดุล จะได้ โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

Ex 4 AB เป็นเบ็ดตกปลายาว 2 m น้ำหนัก 4 N มีจุดศูนย์ถ่างที่จุด C ห่างจากปลายมือจับ(A) เท่ากับ 0.6 m ระยะ DE เป็นส่วนที่ใช้มือจับไว้ โดย E เป็นจุดหมุน และออกแรงกดที่ D ระยะ AD = DE คือ 0.1 m ถ้าปลาที่ตกได้มีน้ำหนัก 8 N ต้องออกแรงกดที่ D กี่นิวตัน วิธีทำ D E C A B

Ex 5 ชายคนหนึ่งออกแรงยกวัตถุด้วยแรง 120 N โดยใช้รอกเดี่ยวตายตัว เขาจะต้องออกแรงกี่นิวตันยกวัตถุนี้ วิธีทำ

โมเมนต์ในชีวิตประจำวัน โมเมนต์เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันมากมาย การใช้เครื่องใช้หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ หลายชนิด

2.1 รอกเดี่ยวตายตัว (Fixed Pulley) 2 รอก คือ เครื่องมือที่ใช้ยกของขึ้นที่สูง มีล้อกลมมีแกนอยู่กึ่งกลาง ส่วนใหญ่จะทำจากโลหะ เพราะมีความแข็งแรงมาก ๆ แบ่งเป็น 3 ประเภท  คือ 2.1 รอกเดี่ยวตายตัว (Fixed Pulley) เป็นรอกที่ไม่ช่วยผ่อนแรง แต่ช่วยอำนวย ความสะดวก E    =   W

2.2 รอกเดี่ยวเคลื่อนที่( Movable Pulley ) เป็นลอกที่ช่วยอำนวยความสะดวก  การคำนวณ สูตร E    = W 2

2.3 รอกพวง ( Block Pulley) เกิดจากการ นำรอกหลายๆอันมาผูกกันเป็นพวงเดียวทำให้ ผ่อนแรงมากขึ้น การคำนวณให้คิดทีละตัว แบบรอกเดี่ยว สูตรคำนวณ คือ  E =  W/2n          n =   จำนวนลอกที่เคลื่อนที่

Ex 6 ชายคนหนึ่งใช้มือถือกล่องหนัก 8 N ความยาวฝ่ามือถึงข้อศอก 40 cm ถ้าให้แขนวางตัวในแนวระดับ กล้ามเนื้อส่วนที่ต้องออกแรงอยู่ห่างจากข้อศอก 5 cm ต้องออกแรงกี่นิวตัน วิธีทำ

Ex 7 นาย ก ใช้พื้นเอียงยาว 8 m วางพาดกำแพงสูง 2 m โดยให้ปลายพื้นเอียงอยู่บนกำแพงพอดี แล้วลากวัตถุหนัก 500 N ขึ้นไปไว้บนกำแพง จงหาว่า นาย ก ต้องออกแรงกี่นิวตัน วิธีทำ

Ex 8 ถ้ามีแรง 150 N ในการลากตู้มวล 200 kg จากพื้นถนนขึ้นรถบรรทุก ซึ่งสูง 1.5 m ต้องใช้ไม้กระดานยาวกี่เมตร พาดจากพื้นถนนไปยังท้ายรถ วิธีทำ

โมเมนต์ทวน = โมเมนต์ตาม XXF x R = W x r r - รัศมีของเพลา     R - รัศมีของล้อ

Ex 9 การดึงน้ำขึ้นจากบ่อลึกด้วยล้อและเพลาดังรูป ล้อมีเส้นผ่านศูนย์กลาง   36  cm   และเพลามีเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 cm หากถังน้ำที่ต้องการดึงขึ้นมีมวล  20  kg แรงอย่างน้อยที่ต้องดึงเชือกพันล้อต้องเป็นเท่าใด (ประมาณว่ามีความฝืดน้อย วิธีทำ คิดโมเมนต์ที่แกนหมุน  ขณะที่ดึงขึ้นด้วยความเร็วสม่ำเสมอ จะใช้แรงเท่ากับสมดุล คือ โมเมนต์ทวน  =  โมเมนต์ตาม F x R  =  W x r F x (36/2) = 20 x10 x (15/2)    F  =  83.3  N คำตอบ ใช้แรงอย่างน้อย  83.3  นิวตัน เมื่อประมาณว่ามีความฝืดน้อยและไม่คิดมวลของเชือก

(Wedge)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                              

Ex 10 วิธีทำ วิเคราะห์โจทย์จะได้ E = 120 N, หัวขวานอันหนึ่งยาว 6 เซนติเมตร และหนา 2 เซนติเมตร ถ้าออกแรงฟันต้นไม้ด้วยแรง 120 นิวตัน ปรากฏว่าหัวขวานจมลงไปในเนื้อไม้ทั้งหมด ต้นไม้นี้มีแรงต้านทานเท่าไร วิธีทำ  วิเคราะห์โจทย์จะได้ E = 120 N, H = 6 cm , L = 2 cm ต้องการทราบค่า W จากสูตร            E x H = W x L แทนค่าจะได้   120 x 6 = W x 2 W = 360 นิวตัน ตอบ ต้นไม้นี้มีแรงต้านทาน 360 นิวตัน

Ex 11 หัวขวานอันหนึ่งมีลักษณะเป็นลิ่มหนา 5 เซนติเมตร และยาว 3 เซนติเมตร ถ้าออกแรงฟันแผ่นไม้ที่มีแรงต้าน 300 นิวตัน จะต้องออกแรงฟันแผ่นไม้เท่าใด วิธีทำ  วิเคราะห์โจทย์จะได้  H = 3 cm , L = 5 cm , W = 300 N ต้องการทราบค่า E จากสูตร         E x H = W x L แทนค่าจะได้    E x 3 = 300 x 5 E = 500 นิวตัน ตอบ จะต้องออกแรงฟันแผ่นไม้ 500 นิวตัน