สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Emergency Response System for Elderly and PWDs: Design & Development
Advertisements

ตัวห้ำ 6 ตั๊กแตนตำข้าว MANTODEA PREDATORS (Kosol Charernsom: Tel ; Fax Home ; )
NARENTHORN DATA.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย
คิวQueue Circular Queue.
บทที่ 2 Queue Queue.
นายปกรณ์ อินทะเทพ นายอัครพล คุณพิสุทธิ์. Content Overview The Tale Holographic Storage Today Story Look Ahead.
ตัวห้ำ 6 ตั๊กแตนตำข้าว MANTODEA PREDATORS.
คิว ลักษณะการทำงานของ Queue การดำเนินการของ Queue การตรวจสอบ Queue
งานควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
ผลการดำเนินงาน EMS ปี 2551 ( ตุลาคม 50 – มิถุนายน 51) งานควบคุมโรคไม่ติดต่อและ การบาดเจ็บ.
ระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
โครงสร้างระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
ดาวเทียม Satellite 09/04/58 วินิจ กัลยาณพงศ์ ศูนย์เทคโนโลยีทาง การศึกษา
การเตรียมความพร้อมของหน่วยกู้ชีพใน เทศกาลปีใหม่ ปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ หน่วยกู้ชีพ FR และ BLS – ตรวจเช็คสภาพรถยนต์ให้พร้อมออกปฏิบัติงาน.
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
Colpitts Oscillator Circuits
QueueQueue Lecturer : Kritawan Siriboon, Room no. 913 Text : Data Structures & Algorithm Analysis in C, C++,… Mark Allen Weiss, Addison Wesley.
พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ. งบประมาณในการพัฒนามหาวิทยาลัยมีจำกัด การผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาที่ไม่เป็นไปตามความ ต้องการของประเทศ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ.
บทบาทของศูนย์บริหารงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
Queue Lecturer : Kritawan Siriboon, Room no. 913
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
บำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติด
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element)
อะตอม คือ?.
ระบบ RIFD.
การดำเนินงาน RTI.
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ กระทรวงสาธารณสุข
วันขอบพระคุณพระเจ้า Thanksgiving
Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (MCATT)
บทที่ 3 แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
รายงานความคืบหน้า “โครงการจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์”
ประชุม Video Conference ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสงขลา
ประชุมขับเคลื่อนการดำเนินงานควบคุมป้องกันอุบัติเหตุและคณะอนุกรรมการดำเนินงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดนราธิวาส ครั้งที่ ๑ ปี ๒๕๕๙ วันที่ ๒๓ ธันวาคม.
การขอรับชำระหนี้ มาตรา 91 ถึง มาตรา 108.
ประกาศ มหาวิทยาลัยมหิดล (มีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556)
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการขาย
กองคลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี
ระบบวิทยุกระจายเสียง
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศในยุคประเทศไทย 4.0
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ
สิ่งที่ควรและไม่ควรปฏิบัติในงานบริการ (DO & DON’T IN CUSTOMER SERVICE)
มาทำความรู้จักกับ เห็ดเผาะดาว.
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
ครั้งที่ 6/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การมีส่วนร่วมของประชาชน
การดำเนินกิจการ ของสหกรณ์ออมทรัพย์.
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
หลักการตลาด Principles of Marketing
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การประชุมเพื่อกำหนดแนวทางกิจกรรมรองรับนโยบายการขายและการให้บริการ หน่วยธุรกิจโทรศัพท์ประจำที่และบรอดแบนด์ ปี 2560.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
X สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z
Newton’s Second Law Chapter 13 Section 2 Part 2.
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
ดื่มด่ำ..กับความสุข..ชั้นบรรยากาศ
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการ กับการสาธารณสุข
คลินิกหมอครอบครัวคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี แนวทางการปฏิบัติงานบริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่จังหวัดสระบุรี ณ จุดเกิดเหตุ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี

หน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น ( First Responder ) 1. ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการทำหน้าที่เป็นผู้สั่งการแจ้งให้หน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น (First Responder)ออกปฏิบัติการและแจ้งเวลาสั่งการ ให้หน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น (First Responder) นั้นตอบรับทราบข้อมูลดังกล่าวและแจ้งออกปฏิบัติงาน พร้อมแจ้งทีม (FR รหัสใดบ้างและทีมที่ออกปฏิบัติการต้องมี จนท. FR อย่างน้อย 2 คน) 2. กรณีหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น (First Responder) เมื่อได้รับแจ้งเหตุอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินเองโดยตรง ให้รายงานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการทันที แจ้งทางวิทยุสื่อสาร 153.875 MHz หรือทางโทรศัพท์ 1669 , 036- 223075 ถ้าหน่วยบริการที่ออกปฏิบัติหน้าที่ไม่สามารถติดต่อได้เองให้ศูนย์วิทยุของหน่วยฯ นั้นแจ้งแทน

หน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น ( First Responder ) 3. เมื่อถึงที่เกิดเหตุประเมินสถานการณ์ ความรุนแรงของเหตุการณ์ อาการ จำนวนผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บ แล้วรายงานข้อมูลดังกล่าวให้ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการทราบเพื่อให้เวลาสั่งการ และพิจารณาว่าสามารถนำส่งโรงพยาบาลได้เองหรือไม่ และจะได้ประสานงานกับโรงพยาบาลที่จะนำผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บส่งเพื่อเตรียมรับผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บ 4. กรณีพบเหตุการณ์รุนแรง อุบัติเหตุกลุ่มชน(Mass Casualty) มีจำนวนผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บหลายราย หรือผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บติดภายในซากรถต้องใช้อุปกรณ์กู้ภัยตัดถ่าง ต้องรีบแจ้งศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการทันทีเพื่อแจ้งขอกำลังสนับสนุนจากทีมหน่วยกู้ชีพของโรงพยาบาล (ALS)ที่ใกล้เคียงและทีมกู้ภัย/ศูนย์พระรามซึ่งมีอุปกรณ์ตัดถ่างไปช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ และรายงานผู้บังคับบัญชาต่อไป 5. ในระหว่างที่รอกำลังสนับสนุนให้ปฐมพยาบาลเบื้องต้น และต้องรายงานข้อมูลให้ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการทราบเป็นระยะ

หน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น ( First Responder ) 6. ก่อนการนำส่งผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บไปโรงพยาบาล FR ต้องรายงานจำนวนผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บที่นำส่ง อาการ การบาดเจ็บ ระดับความรู้สึกตัว และจะนำส่งโรงพยาบาลใด 7. กรณีที่อยู่ในระหว่างนำผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บส่งโรงพยาบาลแล้วมีอาการเปลี่ยนแปลง หรือผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บอาการรุนแรงขึ้นให้รีบแจ้งเข้าศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการทันทีเพื่อส่งทีมระดับ ALS ที่ใกล้ที่สุดออกไปเปลี่ยนถ่ายผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บระหว่างทางที่นำส่ง (ซึ่งศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจะออกเลขปฏิบัติการ ให้ทั้ง 2 ทีม) 8. ถ้ามีผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บที่ต้องนำส่งโรงพยาบาลมากกว่า 1 ครั้งในเหตุการณ์เดียวกันจะต้องรายงานและขออนุญาตนำผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บส่งโรงพยาบาลอีกครั้งไม่ว่าจะเป็นรถคันเดิมหรือทีมเดิมหรือทีมสนับสนุนเพิ่มเติมก็ตามต้องรายงานให้ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการรับทราบทุกครั้งเสมอจึงจะได้เลขปฏิบัติการเพิ่ม

หน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น ( First Responder ) 9. กรณีไปถึงที่เกิดเหตุแล้วไม่พบเหตุ หรือพบเหตุ แต่มีผู้อื่น/หน่วยงานอื่นให้การช่วยเหลือผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บ นำส่งโรงพยาบาลไปก่อนแล้วต้องแจ้งให้ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการทราบด้วยเช่นกัน 10. เมื่อนำผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บส่งโรงพยาบาลและได้รวบรวมข้อมูลทุกอย่างครบเสร็จสิ้น ให้หน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น( First Responder ) นั้นแจ้งข้อมูลเพื่อขอเลขปฏิบัติการจากศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการทันทีภายใน 2 ชั่วโมง 11. ในใบบันทึกข้อมูลปฏิบัติการของ FR นั้นจะต้องได้รับการประเมินการนำส่ง พร้อมลายเซ็นและชื่อ-สกุลตัวบรรจงของแพทย์หรือพยาบาลของห้องฉุกเฉินประจำโรงพยาบาลที่นำผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บส่งจึงจะถือว่าสมบูรณ์ 12. ขอให้หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น (First Responder) ทุกท่านปฏิบัติงานอย่างมีสติและซื่อสัตย์ ตามความรู้ความสามารถและปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยทั้งทีมปฏิบัติการเองและตัวผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บขอให้ เน้นการประเมินสถานการณ์ การกู้ชีพช่วยเหลือชีวิตผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บก่อนการกู้ภัย

หน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น ( First Responder ) ***หมายเหตุ การออกปฏิบัติงาน 1. กรณี FR ได้รับแจ้งเหตุเองไม่ว่าจะได้รับแจ้งจากใคร ทางใดก็ตาม แน่ใจว่ามีเหตุหรือมีผู้บาดเจ็บจริงหรือไม่ FR แจ้งศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการขออนุญาตออก ว.4 ตรวจสอบเหตุดังกล่าวแล้วไม่พบเหตุ/ไม่พบผู้บาดเจ็บ หรือมีหน่วยงานอื่นช่วยเหลือกำลังนำส่ง ให้ถือว่าไม่ได้ปฏิบัติงาน ทางศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจะไม่ออกเลขปฏิบัติการให้ 2. ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจะออกเลขปฏิบัติการให้ FR ต่อเมื่อ 2.1 FR ได้รับคำสั่งจากศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการให้ออก ว.4 ทั้งพบหรือไม่พบผู้บาดเจ็บคือ กรณีศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการออกคำสั่งให้ FR ออกปฏิบัติการแล้วถึงที่เกิดเหตุไม่พบผู้บาดเจ็บหรือไม่พบเหตุให้แจ้ง ว.8 ให้ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการทราบทันทีและทางศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจะออกเลขปฏิบัติการให้ 2.2 FR ได้รับแจ้งเหตุเองไม่ว่าจะได้รับแจ้งจากใคร ทางใดก็ตาม แน่ใจว่ามีเหตุหรือมีผู้บาดเจ็บจริงหรือไม่ FR แจ้งศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการขออนุญาตออก ว.4 เมื่อถึงที่เกิดเหตุแล้วพบว่ามีเหตุจริงและมีผู้บาดเจ็บจริง และต้องรายงาน ว.8 ทุกครั้งที่ถึงที่เกิดเหตุ แจ้งข้อมูลสถานการณ์ อาการ จำนวนผู้บาดเจ็บ ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจะให้เวลาสั่งการเมื่อแจ้งว่าถึงที่เกิดเหตุ และให้ FRว.4 เหตุนั้นตามขั้นตอนอย่างถูกต้องจนเสร็จสิ้นภารกิจ

มาตรฐานการปฏิบัติงาน 1. บุคลากร ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น (FR) 2. ทีมปฏิบัติงาน เป็น FR จำนวน 3-4 คน/ทีม หัวหน้าทีม 1 คน, สมาชิกทีม 2-3 คน 3. แต่งกายแบบฟอร์มผู้ปฏิบัติการฉุกเฉิน / หน่วยงานที่ประจำขณะปฏิบัติงาน 4. ติดบัตรประจำตัวFR ทุกครั้งที่ปฏิบัติงาน 5. รถใช้ปฏิบัติงานผ่านการขึ้นทะเบียนในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน มีสติกเกอร์ติดรถจาก สพฉ. 6. ปฏิบัติงานตามสมรรถนะที่ผ่านการอบรม

มาตรการข้อบังคับ 1. กรณีเจ้าหน้าที่กู้ชีพผิดข้อตกลง ขั้นรุนแรง ดังนี้   1. กรณีเจ้าหน้าที่กู้ชีพผิดข้อตกลง ขั้นรุนแรง ดังนี้ 1.1. กรณีทะเลาะวิวาทจนเป็นข่าวในหมู่สาธารณชน ถือว่าเป็นสภาวะที่ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ จิตใจได้ อาจส่งผลกระทบต่อการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม จะทำการยกเลิกสถานะFR ทั้ง 2 ฝ่ายเป็นเวลา 1 ปี 1.2. กรณีพูดจาไม่สุภาพ หยาบคาย ทางวิทยุสื่อสารหรือมี เป็นการกระทำที่เสียภาพพจน์ของเจ้าหน้าที่กู้ชีพจังหวัดสระบุรี หากตรวจพบจะขอยึดบัตรเจ้าหน้าที่กู้ชีพและห้ามออกปฏิบัติงานโดยเด็ดขาด 2. หากไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติงานข้างต้น ทางสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี จะดำเนินการดังนี้ ครั้งที่ 1 จะว่ากล่าวตักเตือน ครั้งที่ 2 จะหยุดให้เลขปฏิบัติการ 1 ครั้ง ครั้งที่ 3 จะให้หยุดออกปฏิบัติการอย่างน้อย 1 สัปดาห์ ครั้งที่ 4 จะยึดบัตรและตัดออกจากการเป็นเจ้าหน้าที่กู้ชีพจังหวัดสระบุรี

โครงสร้างหลักการดำเนินงานของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัดสระบุรี โครงสร้างหลักการดำเนินงานของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัดสระบุรี จุดเกิดเหตุ ผู้ประสบเหตุ สายด่วน1669 ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จ.สระบุรี ALS ILS BLS FR ออกปฏิบัติการ ณ จุดเกิดเหตุ นำส่งรพ. ที่ใกล้ที่สุดตามความเหมาะสมและความรุนแรงของผู้ป่วยและศักยภาพ ของ รพ. ที่รับผู้ป่วย โดยมีศูนย์สั่งการ ฯ เป็นผู้สั่งการและประสานงาน