การสืบพันธุ์ Reproduction.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ดอกสมบูรณ์ (Complete flower) ดอกไม่สมบูรณ์ (Incomplete flower)
Advertisements

THE PARTS OF A FLOWERING PLANT AND THEIR FUNTION.
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
5. การเปลี่ยนแปลงของประชากรวัชพืช (shifts in weed population)
การออกดอกและการสร้างเมล็ดของวัชพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
Plant growth, development and differentiation (6 hr)
Grain Processing เนื้อหามีที่ผิดซึ่งจะแจ้งในห้องเรียนเท่านั้น
Structural, Physical and Chemical properties of Grains
การพักตัวของเมล็ด (Seed dormancy)
พืชตระกูลสน Gymnospermae
การสืบพันธุ์ของพืช.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ( เพิ่มเติม ) ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
การปฏิสนธิ (Fertilization)
Adapted from Mr Hayward Y11 Science. Micro-organisms or microbes are microscopic living things including:  Bacteria ( แบคทีเรีย )  Fungi ( หูหนู ) 
เกศิณี ระมิงค์วงศ์ ไม้ผลเมืองร้อน
เกศิณี ระมิงค์วงศ์ ไม้ผลเมืองร้อน
การสืบพันธุ์ของพืช.
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (Reproduction in a flowering plant)
อุทยานดอกไม้.
KINGDOM FUNGI เซลล์มีหลายนิวเคลียส (coenocytic, multinucleate)
การสืบพันธุ์และการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม. สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์  เพื่อ  1. ดำรงเผ่าพันธุ์  2. ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด จากบรรพบุรุษไปสู่รุ่นต่อไป.
อาณาจักรรา (Kingdom Fungi)
What are the parts of a plant?. Vocabulary 1) Plant- พืช 7) Buds- ดอกตูม 2) Roots- ราก 8) Flower- ดอกไม้ 3) Stem- ลำต้นเล็ก 9) Fruit- ผลไม้ 4) Trunk-
มัลติเพิลอัลลีล MULTIPLE ALLELES
การเขียนจดหมายธุรกิจ
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
อาณาจักรโปรติสตา Kingdom Protista พิษณุ วรรณธง
การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต(Reproduction & Development)
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Easter อาจารย์สอง Satit UP.
พืชตระกูลหญ้าและพืชที่มีลักษณะคล้ายหญ้า
นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
เกาะเลื้อย(creeping)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
Cassava Family: Euphorbiaceae (พืชมีน้ำยาง)
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
กองเมล็ดพันธุ์ข้าว.
การสร้างความร่วมมือระหว่างบ้านและโรงเรียน: บทบาทผู้ปกครองและครู
วิชาการเลี้ยงสุกร ระดับปวช.
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiosis)
แบบมาตรฐานระบบบำบัดน้ำเสียแบบได้ก๊าซชีวภาพ สำหรับฟาร์มสุกร
นิวเคลียส (Nucleus) ประกอบด้วย
การประเมินลักษณะประจำพันธุ์ข้าว
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 1 ทบทวนพฤกษศาสตร์ของพืช
Sweet Potato Family: Convolvulaceae Genus: Ipomoea Species: batatas
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
ข้อควรทราบพิเศษ กล้ามเนื้อเรียบและกล้ามเนื้อหัวใจถูกควบคุมด้วยระบบประสาทอัตโนวัติ จึงสามารถทำงานอยู่นอกอำนาจจิตใจ (Involuntary system) ยิ่งกว่านั้นกล้ามเนื้อทั้ง.
Rabbi อาจารย์สอง Satit UP.
การพัฒนาของมนุษย์ หลังการปฏิสนธิจะได้ไซโกต ซึ่งจะพัฒนาต่อไปเป็นเอ็มบริโอ ผ่านระยะการเจริญที่สำคัญ ได้แก่ Clevage, Blastulation, Gastulation และ Organogenesis.
พยานหลักฐาน และความชอบด้วยกฎหมายของการสอบสวน
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
การสืบพันธุ์ของพืช.
Genus: Hevea Species: brasiliensis Family: Euphorbiaceae
Holy Land อาจารย์สอง Satit UP.
Potato Family: Solanaceae Genus: Solanum Species: tuberosum
Family: Gramineae / Poaceae
การขยายพันธุ์พืช.
อธิบายข้อแตกต่างระหว่าง ศูนย์ฯที่ใช้ไฟล์เก่า กับศูนย์ฯที่เริ่มต้นใช้ไฟล์ใหม่ 1 กุมภาพันธ์ 2562.
การส่งเสริมสุขภาพ การสร้างพลังใจ และวางแผนชีวิต และสิทธิ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสืบพันธุ์ Reproduction

พืชจะสืบพันธุ์อย่างไร พืชจะใช้อวัยวะใดในการสืบพันธุ์

พืชต้องมีการสืบพันธุ์เพื่อที่จะดำรงพันธุ์ การสืบพันธุ์ของพืชดอก แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑. แบบอาศัยเพศ หมายถึง การสืบพันธุ์ที่ต้องมีการผสม ระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้กับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย และอวัยวะที่ใช้ในการสืบพันธุ์ของพืช ก็คือ ดอก เมื่อผสมกันแล้วก็เจริญเติบโตเป็น เมล็ด ซึ่งนำไปเพาะ จะสามารถงอกเป็นพืชต้นใหม่ได้

๒.แบบไม่อาศัยเพศ หมายถึง การสืบพันธุ์ที่ไม่ต้องอาศัย ๒.แบบไม่อาศัยเพศ  หมายถึง  การสืบพันธุ์ที่ไม่ต้องอาศัย เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย  แต่ใช้ ส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น  ราก ลำต้น  ใบ   ไปปักชำ ติดตา  ตอน ทาบกิ่ง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นต้น                                                                                        

การสืบพันธุ์ของพืช

ดอก Flower เป็นอวัยวะของพืชที่ทำหน้าที่ในการสืบพันธุ์

ส่วนประกอบของดอก กลีบดอก เกสรตัวผู้ ยอดเกสรตัวเมีย รังไข่ กลีบเลี้ยง ออวุล

กลีบดอก เกสรตัวผู้ ออวุล เกสรตัวเมีย รังไข่

ภายในดอกจะมีส่วนประกอบที่สำคัญอยู่ 4 ส่วน คือ ดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชซึ่ง ภายในดอกจะมีส่วนประกอบที่สำคัญอยู่ 4 ส่วน คือ 1.กลีบเลี้ยง (Sepal) มักมีสีเขียว เช่นเดียวกับใบ สามารถสังเคราะห์แสงได้ หน้าที่ ป้องกันอันตรายหรือห่อหุ้มดอก ตอนตูม

2.กลีบดอก (Petal) มีสีต่าง ๆใช้ในการล่อแมลงเพื่อช่วยใน การสืบพันธุ์ โดยมีสีสวยกลิ่นหอม โคนกลีบดอกมีต่อม น้ำหวาน

สืบพันธุ์เพศผู้ มักมีหลายอัน เกสรตัวผู้ประกอบด้วย 3.เกสรตัวผู้ (Stamen) เป็นอวัยวะสำหรับสร้างเซลล์ สืบพันธุ์เพศผู้ มักมีหลายอัน เกสรตัวผู้ประกอบด้วย -ก้านชูอับละอองเรณู ( Filament ) -อับละอองเรณู ( Anther) ซึ่งภายในมีละอองเรณู (Pollen grain)

ที่เรียกว่า เซลล์ไข่ ซึ่งเกสรตัวเมียนั้นประกอบด้วย 4.เกสรตัวเมีย (Pistil) มีหน้าที่ให้เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ที่เรียกว่า เซลล์ไข่ ซึ่งเกสรตัวเมียนั้นประกอบด้วย - ก้านชูเกสรตัวเมีย (Style) - ยอดเกสรตัวเมีย (Stigma) - รังไข่ (Ovary) ภายในมีออวุล (Ovule)และภายในออวุล มีเซลล์ไข่อยู่ (egg)

เกสรตัวเมีย เกสรตัวผู้

Lily Pistil and Close-Up of Ovary

กลีบดอก เกสรตัวเมีย เกสรตัวผู้

ดอกครบส่วน (Complete flower) คือ ดอกที่มีส่วนประกอบครบทั้ง 4 ส่วน เช่น ชบา ต้อยติ่ง กุหลาบ บานบุรี มะลิ ชงโค อัญชัน มะแว้ง มะเขือ พู่ระหง ผักบุ้ง แพงพวย บัวหลวง เป็นต้น มะเขือ ชบา ผักบุ้ง

ดอกชงโค ดอกอัญชัน

ดอกแพงพวย ดอกมะแว้ง

ดอกไม่ครบส่วน (Incomplete flower) ดอกที่มีส่วนประกอบไม่ครบทั้ง 4 ส่วน ซึ่งอาจขาดส่วนหนึ่งส่วนใดไปหรืออาจขาดมากกว่า 1 ส่วนก็ได้ เช่น ข้าว ข้าวโพด ตำลึง ฟักทอง จำปา บานเย็น เฟื่องฟ้า หน้าวัว มะละกอ แตงกวา มะยม มะเดื่อ บวบ ละหุ่ง เป็นต้น ดอกจำปา

ดอกข้าว

ดอกตำลึง ดอกมะละกอ ดอกบวบ

ดอกสมบูรณ์เพศ Perfect Flower ดอกที่มีเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน เช่น ดอกชบา  ดอกกุหลาบ  ดอกบัว  ดอกบานบุรี ดอกมะเขือ ดอกพริก  ดอกถั่ว ดอกฝ้าย ดอกกะหลํ่า   กล้วยไม้ ดอกข้าว  ดอกผักบุ้ง ดอกแค เป็นต้น

ดอกสมบูรณ์เพศ

ดอกที่มีเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียเพียงอย่างเดียว ดอกไม่สมบูรณ์เพศ Imperfect Flower      ดอกที่มีเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียเพียงอย่างเดียว อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น มะพร้าว  ฟักทอง บวบ   แตงกวา  ข้าวโพด  ตำลึง  มะละกอ  ตาล  มะยม  มะเดื่อ ดอกหน้าวัว ฯลฯ   

ข้อสังเกต ดอกครบส่วนจะเป็นดอกสมบูรณ์เพศเสมอ ดอกสมบูรณ์เพศอาจจะเป็นดอกไม่ครบส่วนก็ได้

แมลงช่วยการผสมเกสร

ลักษณะของละอองเรณู

การปฏิสนธิ Fertilization

การปฏิสนธิ หมายถึง การที่เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้(สเปิร์ม) ผสมกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (เซลล์ไข่) ในออวุลเป็นไซโกต แล้วเจริญต่อไปเป็นเอ็มบริโอต่อไป

กระบวนการปฏิบัติการ ละอองเรณู

ละอองเรณู

การถ่ายละอองเรณู (Pollination)

การถ่ายละอองเรณู (Pollination) คือการที่ละอองเรณูของเกสรตัวผู้ตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย โดยมี แมลง ลม กระแสน้ำ มนุษย์ สัตว์ อื่น ๆ เป็นสื่อพาไป

การงอกหลอดของละอองเรณู

การงอกหลอดของละอองเรณู

เมื่อละอองเรณูของเกสรตัวผู้ตกลงบนยอดเกสรตัวเมียก็จะดูดน้ำจากยอด เกสรตัวเมียจนบวมแล้วจะงอกหลอด ออกมาแทงลงไปในเนื้อเยื่อของยอดและก้านเกสรตัวเมีย นิวเคลียสในละอองเรณูที่แก่จะแบ่งเป็น 2 นิวเคลียส คือ - เจเนอเรทีฟนิวเคลียส (Generative Nucleus) ทิวบ์นิวเคลียส (Tube Nucleus)

สเปิร์มนิวเคลียส ทิวบ์นิวเคลียส

เจเนอเรทีฟนิวเคลียส (Generative Nucleus) จะแบ่งตัวสร้างสเปิร์ม 2 ตัว สเปิร์มตัวที่ 1 จะเข้าผสมกับไข่ ได้เป็น ไซโกต (Zygote) ซึ่งจะเจริญไปเป็นเอมบริโอ (Embryo) สเปิร์มตัวที่ 2 จะเข้าผสมโพลาร์นิวเคลียส ได้เป็น เอนโดสเปิร์ม (Endosperm) ทิวบ์นิวเคลียส ( Tube Nucleus) ทำหน้าที่สลายผนังรังไข่ จะสลายตัวไป

กระบวนการเตรียมการ ออวุล

ภายในออวุลแต่ละอันจะมีการแบ่งเซลล์หลายครั้ง ได้เซลล์ 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 อยู่ด้านบนมี 3 เซลล์ เรียกแอนติโพดอล กลุ่มที่ 2 อยู่ตรงกลางมี 1 เซลล์เรียกว่า โพลาร์นิวคลีไอ กลุ่มที่ 3 อยู่ด้านล่างมี 3 เซลล์โดยมีเซลล์ไข่อยู่ตรงกลาง และซินเนอร์จิด 2 เซลล์

การเปลี่ยนแปลงในรังไข่

รวม ๗ เซลล์ ๘ นิวเคลียส ใน ๑ ออวุล แอนติโพดอล ๓ เซลล์ ๓ นิวเคลียส โพลาร์นิวคลีไอ ๑ เซลล์ ๒ นิวเคลียส ไข่ ๑ เซลล์ ๑ นิวเคลียส ซินเนอร์จิด ๒ เซลล์ ๒ นิวเคลียส รวม ๗ เซลล์ ๘ นิวเคลียส ใน ๑ ออวุล

การปฏิสนธิซ้อน (Double fertilization)

ซินเนอร์จิด ๒ เซลล์ ๒ นิวเคลียส แอนติโพดอล ๓ เซลล์ ๓ นิวเคลียส โพลาร์นิวคลีไอ ๑ เซลล์ ๒ นิวเคลียส ไข่ ๑ เซลล์ ๑ นิวเคลียส ซินเนอร์จิด ๒ เซลล์ ๒ นิวเคลียส

สเปิร์มตัวที่ 2 จะเข้าผสมโพลาร์นิวเคลียส ได้เป็น สเปิร์มตัวที่ 1 จะเข้าผสมกับไข่ ได้เป็น ไซโกต (Zygote) ซึ่งจะเจริญไปเป็นเอ็มบริโอ (Embryo) สเปิร์มตัวที่ 2 จะเข้าผสมโพลาร์นิวเคลียส ได้เป็น เอนโดสเปิร์ม (Endosperm)ซึ่งเป็นอาหารสำหรับเลี้ยงเอ็มบริโอ

การปฏิสนธิเชิงซ้อน หมายถึง การปฏิสนธิที่เกิดขึ้นจากสเปิร์มตัวที่ 1 ผสมกับเซลล์ไข่ได้ไซโกต และสเปิร์มตัวที่ 2 ผสมกับโพลาร์นิวเคลียสได้เอนโดสเปิร์ม

ภายหลังการปฏิสนธิ สเปิร์มตัวที่ 1 + ไข่ ไซโกต ต้นอ่อน(embryo) สเปิร์มตัวที่ 2 + โพลาร์นิวเคลียส เอนโดสเปิร์ม กระบวนการนี้เกิดการปฏิสนธิ 2 ครั้ง จึงเรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน ซึ่งจะพบเฉพาะในพวกพืชที่มีดอกเท่านั้น

              1. รังไข่ (Ovary) จะเจริญไปเป็นผล (Fruit)               2. ออวุล (Ovule) จะเจริญไปเป็นเมล็ด (Seed)               3. ไข่ (Egg) จะเจริญไปเป็นต้นอ่อน (Embryo) อยู่ภายในเมล็ด               4. โพลาร์นิวเคลียส (Polar nucleus) จะเจริญไปเป็นเอนโดสเปิร์ม (Endosperm) อยู่ภายในเมล็ด               5. เยื่อหุ้มออวุล (Intergument) จะเจริญไปเป็นเปลือกหุ้มเมล็ด (Seed coat)               6. ผนังรังไข่ (Ovary wall) จะเจริญไปเป็นเปลือกและเนื้อของผล (Pericarp)               7. สำหรับกลีบเลี้ยง กลีบดอก ยอดเกสรตัวเมีย ก้านเกสรตัวเมีย แอนติโพดัล และซัลเนอร์จิด จะเหี่ยวแห้งสลายตัวไป

รังไข่ ผล ออวุล เมล็ด ผนังรังไข่ เปลือกและเนื้อ เยื่อหุ้มออวุล เปลือกหุ้มเมล็ด กลีบเลี้ยง เหี่ยวแห้งหลุดร่วง กลีบดอก ,, แอนติโพดอล สลายตัวไป ซินเนอร์จิด สลายตัวไป

สรุป

สรุปการปฎิสนธิ