แผ่นดินไหว.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

>>>หน้าแรก<<<
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
ส่วนประกอบในร่างกาย หัว ใบหน้า ร่างกาย ปาก.
ชีวิตหลัง ความตาย.
วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ระดับชั้น ม.4
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และการแบ่งเขตเวลาของโลก
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
ภัยธรรมชาติและการระวังภัย
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ชุมชนปลอดภัย.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
บทที่ 8 คลื่นและคลื่นเสียง
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Integrated Information Technology
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
น้ำและมหาสมุทร.
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
Driver Service sect. Training. Video ภาพอุบัติเหตุ ที่ 1 สถานที่เกิดเหตุ : ทางด่วนขา เข้าบางนาตราด เวลาโดยประมาณ : 16: 45 น.
ปรากฏการณ์ ทางธรณีวิทยา
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
อ. ธนา ยีรัมย์ วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
ความดัน (Pressure).
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ศาสนาเชน Jainism.
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผ่นดินไหว

แผ่นดินไหว ที่เกิดจากการสั่นสะเทือน ของพื้นดิน อันเนื่องมาจากการปลดปล่อยพลังงาน เพื่อระบายความเครียดที่สะสมไว้ภายในโลกออกมาอย่างฉับพลัน และปรับสมดุลของเปลือกโลกให้คงที่ ในรูปของคลื่นไหวสะเทือน สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้น จัดแบ่งได้ 2 ชนิด ชนิดที่หนึ่ง เกิดจาก การกระทำของมนุษย์ ได้แก่ การทดลองระเบิดปรมาณู การกักเก็บน้ำในเขื่อนและแรงระเบิดของการทำเหมืองแร่ เป็นต้น ชนิดที่สอง เป็นแผ่นดินไหวจากธรรมชาติ การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก อุกกาบาตขนาดใหญ่ตกลงพื้นโลก แผ่นดินถล่ม การยุบตัวของโพรงใต้ดิน เป็นต้น

แผ่นดินไหว เกิดจากการสั่นสะเทือน ของพื้นดินอันเนื่องมาจากการปลดปล่อย แผ่นดินไหว เกิดจากการสั่นสะเทือน ของพื้นดินอันเนื่องมาจากการปลดปล่อย พลังงาน เพื่อระบายความเครียดที่สะสมไว้ภายในโลกออกมาอย่างฉับพลัน เพื่อปรับสมดุลของแผ่นเปลือกโลกให้คงที่ โดยปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของคลื่นไหวสะเทือน แผ่นดินไหวส่วนใหญ่ เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นเนื่องจาก การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก  เมื่อชั้นหินกระทบกันทำเกิด คลื่นไหวสะเทือน (Seismic waves)  เราเรียกจุดกำเนิดของคลื่นไหวสะเทือนว่า "ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว" (Focus) และเรียกตำแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือจุดกำเนิดของคลื่นแผ่นดินไหวว่า "จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว" (Epicenter)​ เมื่อเกิดแผ่นดินไหวจะเกิดคลื่นไหวสะเทือน

กักเก็บไว้ในชั้นหิน ซึ่งเกิดขึ้นภายใน ชั้นเนื้อโลกส่วนของธรณีภาค "ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว " หมายถึง ตำแหน่งที่กำเนิดคลื่นแผ่นดินไหวใต้ผิวโลก และเป็นศูนย์กลางที่เกิดการปลดปล่อยพลังงานที่ถูก กักเก็บไว้ในชั้นหิน ซึ่งเกิดขึ้นภายใน ชั้นเนื้อโลกส่วนของธรณีภาค “ จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ” คือจุดบนผิวโลก (ชั้นเปลือกโลก) ที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว

คลื่นไหวสะเทือน เป็นคลื่นที่ถ่ายทอดพลังงานผ่านภายในโลก ความเร็วของ การกระจายของคลื่นมีความสัมพันธ์กับ ความหนาแน่น และความยืดหยุ่นของตัวกลาง เนื่องจากความหนาแน่นที่ เพิ่มสูงขึ้นในชั้นหินระดับลึก ความเร็วของคลื่นในชั้นหิน ลึกจึงมีแนวโน้มที่จะสูงกว่าความเร็วของคลื่นบริเวณผิวโลก คลื่นไหวสะเทือน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ คลื่นในตัวกลาง และ คลื่นพื้นผิว

1. คลื่นในตัวกลาง (Body wave) เป็นคลื่นที่มีจุดกำเนิดอยู่ภายในโลกและเคลื่อนที่ผ่าน โครงสร้างโลก เดินทางจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ผ่านเข้าไปในเนื้อโลกทุกทิศทาง ในลักษณะเช่นเดียวกับคลื่นเสียงซึ่งเดินทางผ่านอากาศในทุกทิศทาง  คลื่นในตัวกลางมี 2 ชนิด ได้แก่  คลื่นปฐมภูมิ (คลื่น P) เป็นคลื่นตามยาว คลื่นนี้สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เป็นคลื่นที่สถานีวัดแรงสั่นสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่น  โดยมีความเร็วประมาณ 6 – 7 กิโลเมตร/วินาที คลื่นทุติยภูมิ (คลื่น S) เป็นคลื่นตามขวาง คลื่นชนิดนี้ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็งเท่านั้นไม่สามารถเดินทางผ่านของเหลว คลื่นทุติยภูมิมีความเร็วประมาณ 3 – 4 กิโลเมตร/วินาที  

คลื่นพื้นผิว (Surface wave) เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ตามแนวผิวโลก เดินทางจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว(Epicenter) ไปทางบนพื้นผิวโลกในลักษณะเดียวกับการโยนหินลงไปในน้ำแล้วเกิดระลอกคลื่นบนผิวน้ำ คลื่นพื้นผิวเคลื่อนที่ช้ากว่าคลื่นในตัวกลาง คลื่นพื้นผิวมี 2 ชนิด คือ คลื่นเลิฟ (L wave) และคลื่นเรย์ลี (R wave)

คลื่นเลิฟ (L wave) เป็นคลื่นที่ทำให้อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวราบ โดยมีทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น สามารถทำให้ถนนขาดหรือแม่น้ำเปลี่ยนทิศทางการไหล  คลื่นเรย์ลี (R wave) เป็นคลื่นที่ทำให้อนุภาคตัวกลางสั่น ม้วนตัวขึ้นลงเป็นรูปวงรี ในแนวดิ่ง โดยมีทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น  สามารถทำให้พื้นผิวแตกร้าว และเกิดเนินเขา ทำให้อาคาร ที่ปลูกอยู่ด้านบนเกิดความเสียหาย 

เครื่องมือที่ใช้บันทึกข้อมูลแผ่นดินไหวเรียกว่า ไซสโมกรา (seismograph)  เป็นเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหวชนิดวัดการสั่นสะเทือนได้ทุกขนาด มีทั้งการวัดขนาดความลึก การคำนวณหาจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว เครื่องมือนี้ประกอบด้วยเครื่องรับคลื่นไหวสะเทือนและแปลงสัญญาณคลื่นไหวสะเทือนเป็นสัญญาณไฟฟ้า จากนั้นสัญญาณไฟฟ้าจะถูกขยายแล้วแปลงกลับเป็นคลื่นไหวสะเทือนอีกครั้งเพื่อบันทึกลงกระดาษเป็นกราฟ

ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว โดยวัดจากความสูงของคลื่น (amplitude) มาตราริกเตอร์ เป็นมาตราที่กำหนดขนาดความรุนแรงของแผ่นดินไหวซึ่งกำหนดได้จากการคำนวณปริมาณพลังงานที่ถูกปล่อยออกมาจาก ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว โดยวัดจากความสูงของคลื่น (amplitude)

วัดจากความรู้สึกของคนร่วมกับการประเมินผล และความเสียหายของสิ่งปลูกสร้างที่เกิดขึ้นจากการเกิดแผ่นดินไหว

ภัยแผ่นดินไหวยังคงเป็นภัยธรรมชาติที่ยังไม่สามารถพยากรณ์ได้อย่างแม่นยำ แต่สามารถสังเกตพฤติกรรมของสัตว์หลายชนิดที่มีการรับรู้ถึงภัยก่อนเกิดแผ่นดินไหว เช่น -แมลงสาบจำนวนมากวิ่งเพ่นพ่าน - สุนัข เป็ด ไก่ หมู หมี ตื่นตกใจ - หนู งู วิ่งออกมาจากรู - ปลา กระโดดขึ้นจากผิวน้ำ

ได้เวลาทำแบบฝึกหัด แล้วนะจ๊ะ