บทที่ 6 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิจารณาแก๊ส 1 โมเลกุล ชนผนังภาชนะ 1 ด้าน ในแนวแกน x.
Advertisements

Spectrofluorimeter และ Spectrophosphorimeter.
“Non Electrolyte Solution”
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
Introduction to The 2nd Law of Thermodynamics
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Gas โมเลกุลเรียงตัวอย่างอิสระและห่างกัน
1st Law of Thermodynamics
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
(GAS - EQUATION OF STATE)
Mathematical Statement of the Problem
พลังงานภายในระบบ.
วิชา ว ฟิสิกส์ 3 สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
Review of Basic Principle of Thermodynamics 1
หน่วยการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง ตัวอักษรและสระ
Effect of Temperature dH = H dT = CpdT T Constant presure
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
โครงการ ประชุมเชิง ปฏิบัติการ ขยายเครือข่าย เรื่อง... “ การจัดระบบบริการ แบบครบวงจร ( o ne s top c risis c enter) สำหรับเด็กและสตรีที่ได้รับ ความรุนแรง.
ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
แรงในชีวิตประจำวัน.
คำขวัญ : เรื่องงานใหญ่ๆโตๆ มาติดเทอร์โบแล้วไปกับเรา
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส อาจารย์กนกพร บุญนวน.
อุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics)
Physics Thermodynamics-1
การถ่ายเทพลังงาน โดย ดร.อรวรรณ ริ้วทอง :
ความร้อนและอุณหภูมิ (Heat and Temperature)
โรคปวดหลังส่วนล่าง (LOW BACK PAIN)
แบบจำลองอะตอมทอมสัน แบบจำลองอะตอมดอลตัน แบบจำลองอะตอมโบร์
มองอนาคตพลังงานไทย – เราควรถกกันเรื่องอะไร
แก๊ส(Gas) สถานะของสสาร ของแข็ง ของเหลว (ผลึกเหลว) แก็ส
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion)
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
IRobot Create.
โมเมนตัมและการชน อ.วัฒนะ รัมมะเอ็ด.
พลังงาน (Energy).
บทที่ 9 เทอร์โมไดนามิกส์เคมี
Executive Presentation
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
Department of Chemistry
งานและพลังงาน.
ชื่องานวิจัย Rotational dynamics with Tracker
พลังงานทดแทนของประเทศไทย
การถ่ายทอดพลังงานของระบบนิเวศ
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
แก๊ส (Gas) ปิติ ตรีสุกล โครงการจัดตั้งภาควิชาเคมี
งานและพลังงาน (Work and Energy) Krunarong Bungboraphetwittaya.
วก. 300 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 1
งานและพลังงาน.
ผู้จัดทำวิจัย อิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
สิทธินำคดีมาฟ้องระงับ
การสอบสวนวิสามัญ การชันสูตรพลิกศพ ได้แก่ การตรวจสถานที่ที่พบศพ และตรวจสภาพศพ เพื่อทราบเหตุที่ตาย พฤติการณ์ที่ตาย ผู้ตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด และบุคคลผู้ทำให้ตาย.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
By Poonyaporn Siripanichpong
ตัวอย่างที่ 2.11 วิธีทำ.
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
Newton’s Second Law Chapter 13 Section 2 Part 2.
โรค อ้วน.
World window.
เมื่อออกแรงผลักวัตถุ แล้วปล่อยให้วัตถุไถลไปตามพื้นราบในแนวระดับ
กลศาสตร์และการเคลื่อนที่ (1)
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
การยื่นข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์ อ.ดร.สุรีย์พร สราภิรมย์

ความร้อน (Heat) ความร้อน (Q) คือ พลังงานประเภทหนึ่ง ที่สะสมอยู่ในสสารและ สามารถถ่ายเทไปยังสสารอื่น ๆ และสิ่งแวดล้อมได้ ความร้อนเกิดจากการสั่นของอะตอมหรือโมเลกุลของสสารนั้น ๆ ความร้อน เป็น ปริมาณ สเกลาร์มีหน่วยเป็น จูล (J) ความร้อนยังมีอีก 1 หน่วย ที่เป็นที่รุ้จักกันดีคือ แคลอรี่(cal) โดย 1 cal = 4.18 J

อุณหภูมิ(Temperature) อุณหภูมิคือ ปริมาณที่บอกว่าสสารร้อนหรือเย็น หรือ อุณหภูมิเป็นปริมาณที่บอกระดับความร้อนของสสารนั่นเอง อุณหภูมิเป็น ปริมาณ สเกลาร์มีหน่วยเป็น เคลวิน ( ํK) นอกจากนี้อุณหภูมิยังมีหน่วยอื่น ๆ ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย เช่น องศาเซลเซียส ( ํC) และ องศาฟาเรนไฮต์ ( ํF)

6.1 การถ่ายเทความร้อน (Heat Transfer) การส่งถ่ายความร้อน คือ การถ่ายเทพลังงานความร้อนของสสารจากที่ หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง การส่งถ่ายความร้อน แบ่งออกเป็น 3 เภท คือ 1. การนำความร้อน การส่งผ่านความร้อนผ่านแท่งโลหะ, การนำความร้อนของผนังอาคาร 2. การพาความร้อน การพาความร้อนของอากาศ 3. การแผ่รังสี การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์, การแผ่รังสีของกองไฟ

6.2 กฎเทอร์โมไดนามิกส์ กฎข้อที่ ศูนย์ กล่าวว่า "หากเรามีระบบ (หรือวัตถุ) อยู่ 3 ระบบ เช่น ระบบ ก, ข, ค แล้วระบบทั้งสาม นี้สัมผัสกันอยู่และสามารถถ่ายเทความร้อนไปมาระหว่างกันได้ ถ้าหากว่า ระบบ ก กับ ระบบ ข อยู่ในสภาวะสมดุลกันทางความร้อน (มีความร้อนเท่ากันนั่นเอง) และ ระบบ ข กับ ระบบ ค อยู่ในสภาวะสมดุลกันทางความร้อนเช่นกัน นั่นย่อมหมายความว่า ระบบ ก กับ ระบบ ค อยู่ ในสภาวะสมดุลกันทางความร้อนเหมือนกัน"

ตัวอย่างการใช้งานกฎข้อที่ ศูนย์

6.2 กฎเทอร์โมไดนามิกส์ กฎข้อที่1 “ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงต่างๆ นั้น พลังงานจะไม่ถูก สร้างขึ้นมาใหม่และไม่มีการสูญหายไป แต่สามารถเปลี่ยนไป อยู่ในรูปอื่นได้” กฎของการอนุรักษ์พลังงาน (conservation of energy)

กฎข้อที่1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ 6.2 กฎเทอร์โมไดนามิกส์ กฎข้อที่1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ ความร้อนทั้งหมด Q ที่ให้กับระบบปิดใด ๆ บวกกับงานกล W ที่ กระทำบนระบบปิดนั้น ต้องเท่ากับ การเพิ่มของพลังงานภายในของ ระบบ U Q + W = ∆ U

6.2 กฎเทอร์โมไดนามิกส์ กฎข้อที่1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ Q + W = ∆ U

ตัวอย่างที่ 1 จงหาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นของก๊าซจำนวน 2/3 x10 24 โมเลกุล เมื่อให้ความ ร้อนแก่ระบบ 100 จูล และให้งานแก่ระบบอีก 38 จูล วีธีทำ จาก Q + W = ΔU ΔU = Q + W ΔU = 100 + 38 ΔU = 138 J

ตัวอย่างที่ 1 จงหาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นของก๊าซจำนวน 2/3 x10 24 โมเลกุล เมื่อให้ความ ร้อนแก่ระบบ 100 จูล และให้งานแก่ระบบอีก 38 จูล วีธีทำ

2.การนำ 1.การพา 3.การแผ่

6.2 ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ (Kinetic Theory of Gas) ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ เป็นการศึกษาสมบัติของก๊าซในระดับอะตอม โดยอาศัยกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันและหลักการทางสถิติมาใช้ในการวิเคราะห์ หาค่าตัวแปรสถานะของก๊าซ ก่อนที่เราจะศึกษาทฤษฎีจลน์ของก๊าซ เราจะต้องสร้างแบบจำลองก๊าซขึ้นมา ก่อน ซึ่งก๊าซที่อยู่ในระบบจำลองของเรานี้เรียกว่า "ก๊าซในอุดมคติ"

ก๊าซในอุดมคติ(Ideal Gas) ก๊าซในอุดคติคือ ก๊าซที่มีสมบัติต่าง ๆ ดังนี้ 1. โมเลกุลของก๊าซทุกตัวเหมือนกันทุกประการและมีขนาดเล็กมาก เมื่อเทียบกับระยะห่างระหว่างโมเลกุลของก๊าซด้วยกัน 2. ไม่มีแรงดึงดูดกระทำกันระหว่างโมเลกุลของก๊าซ 3. การชนกันของโมเลกุลก๊าซเป็นการชนกันแบบยืดหยุ่น 4. การเคลื่อนที่ของก๊าซเป็นการเคลื่อนที่แบบสุ่ม และเป็นไปตามกฎ การเคลื่อนที่ของนิวตัน

ความดัน P = F/A V2 เฉลี่ย = Vx2 + Vy2 +Vz2 𝑃𝑉 = 1 3 𝑁𝑚0𝑉2

ความดัน P = F/A 𝑃𝑉 = 1 3 𝑁𝑚0𝑉2 หรือ PV = nRT หรือ PV = NkBT 𝑉2𝑟𝑚𝑠 =𝑉2 1 3 Nm0V2rms = nRT = NkBT V2rms = 3𝑛𝑅𝑇 𝑁𝑚0 = 3𝑁𝑘𝐵𝑇 𝑁𝑚0 Vrms = 3𝑛𝑅𝑇 𝑁𝑚0 = 3𝑁𝑘𝐵𝑇 𝑁𝑚0 , M = 𝑛 𝑁𝑚0 Vrms = 3𝑅𝑇 𝑀 = 3𝑘𝐵𝑇 𝑚0

อัตราเร็วเฉลี่ย Vrms = 3𝑛𝑅𝑇 𝑁𝑚0 = 3𝑁𝑘𝐵𝑇 𝑁𝑚0 , M = 𝑛 𝑁𝑚0 Vrms = 3𝑅𝑇 𝑀 = 3𝑘𝐵𝑇 𝑚0 M = 𝑛 𝑁𝑚0 M คือ มวลโมเลกุล ในหน่วย กรัมต่อโมล n คือ จำนวนโมล N คือ จำนวนโมเลกุลของก๊าซ m0 คือ มวลของก๊าซ 1 โมเลกุล m คือ มวลของก๊าซ ในหน่วย กรัม

อัตราเร็วเฉลี่ย ตัวอย่างที่ 1 จงหาอัตราเร็ว Vrms ของโมเลกุลของออกซิเจน และฮีเลี่ยม ที่อุณหภูมิ 27℃ จากสูตร Vrms = 3𝑅𝑇 𝑀 = 3𝑘𝐵𝑇 𝑚0

จงหาอัตราเร็ว Vrms ของโมเลกุลของออกซิเจน และ ฮีเลี่ยม ที่อุณหภูมิ 27℃ ตัวอย่างที่ 1 จงหาอัตราเร็ว Vrms ของโมเลกุลของออกซิเจน และ ฮีเลี่ยม ที่อุณหภูมิ 27℃ Vrms = 3𝑅𝑇 𝑀 = 3𝑘𝐵𝑇 𝑚0 R ค่าคงที่ของก๊าซ 8.314 J/mol.K KB ค่าคงที่ของโบลต์มานต์ 1.38 x 10 -23 J/K T อุณหภูมิ องศาเคลวิน K m0 คือ มวลของก๊าซ 1 โมเลกุล M = 𝑛 𝑁𝑚0 , mo = 𝑛 𝑁𝑀

ตัวอย่างที่ 1 จงหาอัตราเร็ว Vrms ของโมเลกุลของออกซิเจน และฮีเลี่ยม ที่อุณหภูมิ 27℃

จงหาอัตราเร็ว Vrms ของโมเลกุลของออกซิเจน และ ฮีเลี่ยม ที่อุณหภูมิ 27℃ ตัวอย่างที่ 1 จงหาอัตราเร็ว Vrms ของโมเลกุลของออกซิเจน และ ฮีเลี่ยม ที่อุณหภูมิ 27℃ Vrms = 3𝑅𝑇 𝑀 = 3𝑘𝐵𝑇 𝑚0 R ค่าคงที่ของก๊าซ 8.314 J/mol.K M มวลโมเลกุลออกซิเจน 16 x 2 = 32 กรัม g เป็น 32 x 10 -3 kg M มวลโมเลกุลฮีเลี่ยม 4 x 2 = 8 กรัม g เป็น 8 x 10 -3 kg T อุณหภูมิ องศาเคลวิน K

อัตราเร็วเฉลี่ย ตัวอย่างที่ 1 จงหาอัตราเร็ว Vrms ของโมเลกุลของออกซิเจน และฮีเลี่ยม ที่อุณหภูมิ 27℃ Vrms = 3𝑅𝑇 𝑀 T เคลวิน = T C + 273 T เคลวิน = 27 + 273 T เคลวิน = 300 K

อัตราเร็วเฉลี่ย ตัวอย่างที่ 1 จงหาอัตราเร็ว Vrms ของโมเลกุลของออกซิเจน และฮีเลี่ยม ที่อุณหภูมิ 27℃ O2 Vrms = 3𝑅𝑇 𝑀 = 3 8.314 𝐽 𝑚𝑜𝑙.𝐾 (300𝐾) 32 𝑥 10_3 𝑘𝑔 = 483.44 m/s He2 = 3 8.314 𝐽 𝑚𝑜𝑙.𝐾 (300𝐾) 8 𝑥 10_3 𝑘𝑔 = 967.12 m/s

ตัวอย่างที่ 2 จงหาอุณหภูมิที่ทำให้ Vrms ของก๊าซไนโตรเจน มีค่าเท่ากับ Vrms ของก๊าซออกซิเจน ที่ 30 ℃ วิธีทำ Vrms ของก๊าซไนโตรเจน มีค่าเท่ากับ Vrms ของก๊าซออกซิเจน Vrms N = Vrms O 3𝑅𝑇𝑁 𝑀𝑁 = 3𝑅𝑇𝑂 𝑀𝑂 𝑇𝑁 𝑀𝑁 = 𝑇𝑂 𝑀𝑂 𝑇𝑁 = 𝑇𝑂 𝑀𝑁 𝑀𝑂 𝑇𝑁 = 30+273 𝑥28𝑥10−3 32𝑥10−3 𝑇𝑁 = 265.13 K

ตัวอย่างที่ 2 จงหาอุณหภูมิที่ทำให้ Vrms ของก๊าซไนโตรเจน มีค่าเท่ากับ Vrms ของก๊าซออกซิเจน ที่ 30 ℃ วิธีทำ TN = 265.13 K จาก TK = TC + 273 TK - 273 = TC 265.13 - 273 = TC - 7.87 ℃ = TC

พลังงานจลน์เฉลี่ย ค่าพลังงานจลย์เฉลี่ย ของก๊าซ 𝐸𝐾 = 1 2 𝑚 0 𝑉 𝑟𝑚𝑠 2 = 3 2 𝑘 𝐵 𝑇 𝐸𝐾 = 3 2 𝑘 𝐵 𝑇 ค่าพลังงานภายใน ของก๊าซ U = N 𝐸𝐾 U = N( 3 2 𝑘 𝐵 𝑇) U = 3 2 N𝑘 𝐵 𝑇

ตัวอย่างที่ 3 จงหาพลังงานจลน์เฉลี่ย และพลังงานภายในของระบบของ โมเลกุลของก๊าซนีออน (Ne) ที่ มวลโมเลกุลของก๊าซ 2.98×10 22 โมเลกุล ที่ อุณหภูมิ 30 ℃ ( 𝑘 𝐵 = 1.38x10-23) วิธีทำ ค่าพลังงานจลย์เฉลี่ย ของก๊าซ 𝐸𝐾 = 3 2 𝑘 𝐵 𝑇 ค่าพลังงานภายใน ของก๊าซ U = N 𝐸𝐾 = 3 2 N𝑘 𝐵 𝑇

ตัวอย่างที่ 3 จงหาพลังงานจลน์เฉลี่ย และพลังงานภายในของระบบของ โมเลกุลของก๊าซนีออน (Ne) ที่ มวลโมเลกุลของก๊าซ 2.98×10 22 โมเลกุล ที่ อุณหภูมิ 30 ℃ ( 𝑘 𝐵 = 1.38x10-23) วิธีทำ ค่าพลังงานจลย์เฉลี่ย ของก๊าซ 𝐸𝐾 = 3 2 𝑘 𝐵 𝑇 = 3 2 (1.38𝑥10−23 𝐽/𝐾𝑥303𝐾) = 6.27 x 10−21 J จาก TK = TC + 273 TK = 30 + 273 TK = 303 K

ตัวอย่างที่ 3 จงหาพลังงานจลน์เฉลี่ย และพลังงานภายในของระบบของ โมเลกุลของก๊าซนีออน (Ne) ที่ มวลโมเลกุลของก๊าซ 2.98×10 22 โมเลกุล ที่ อุณหภูมิ 30 ℃ ( 𝑘 𝐵 = 1.38x10-23) วิธีทำ ค่าพลังงานจลย์เฉลี่ย ของก๊าซ 𝐸𝐾 = 3 2 𝑘 𝐵 𝑇= 6.27 x 10−21 J ค่าพลังงานภายใน ของก๊าซ U = N 𝐸𝐾 = N 3 2 𝑘 𝐵 𝑇 = (2.98x 1022 โมเลกุล x 6.27 x 10−21 J) = 1.87x 102 J

การบ้าน 1 จงหา อัตราเร็วเฉลี่ยของก๊าซอาร์กอน ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส อัตราเร็วเฉลี่ยของก๊าซฮีเลี่ยม ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส พลังงานจลน์ของระบบ ของก๊าซฮีเลี่ยม ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส พลังงานภายในของระบบ ของก๊าซฮีเลี่ยม ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เมื่อก๊าซในระบบมีจำนวน 1.22×1021 โมเลกุล