Object-Oriented Programming Paradigm

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการความผิดพลาด
Advertisements

Handling Exceptions & database
Object Oriented Programming Handling Exceptions
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
PHPPHP การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 สาขาวิชาระบบสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีการจัดการ.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Pro/Desktop.
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
ตอนที่ 2 โครงสร้างภาษา C Arduino เบื้องต้น
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด
โปรแกรมย่อย อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Handling Exceptions & database
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
Android Programming Multimedia Prawit Pimpisan Computer Science RERU.
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
Chapter 5 การจัดการข้อผิดพลาด (Exception Handling)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
โครงสร้างภาษา C Arduino
หน่วยการเรียนที่ 4 เรื่อง การควบคุมทิศทางการทำงาน
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
Basic Input Output System
Android Programming Getting Start Prawit Pimpisan Computer Science
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
Creating And Using Exceptions
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
Java Translation Object and Class ในมุมมองคอมพิวเตอร์ Objects หรือ Instances หมายถึงวัตถุที่กำเนิดตัวตนจริงๆจากต้นแบบที่กำหนดโดยคลาส Object.
นายไชยวัฒน์ วิเชียรไชย ตำแหน่ง ครู โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
SMS News Distribute Service
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
C#: Windows Forms App.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
บทที่ 10 การแบ่งปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหาย่อยและการสร้างลำดับขั้นตอนย่อย
Chapter 10 Exception Handling
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
Computer Game Programming
บทที่ 10 วงจรรายได้.
Chapter 3 : Array.
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
C#: Windows Forms App.
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

88620159 Object-Oriented Programming Paradigm Exception Handling

Class Variable vs. Instance Variable

Output

Exception Exception หมายถึง ข้อผิดพลาดใดก็ตามที่เป็นเหตุให้ โปรแกรมหยุดทำงานจากการทำงานปกติ ซึ่งเมื่อเกิด exception โปรแกรมจะหยุดทำงานและแสดงข้อความ แจ้งข้อผิดพลาดออกมา Exception เกิดขึ้นได้ทั้งขณะ runtime ( runtime exceptions) และ compile-time (Compile-time exceptions)

ประเภทของ Exception Checked exceptions ทุก ๆ exceptions ที่นอกเหนือจาก Runtime Exceptions จะเรียกว่า Checked exceptions เพราะจะเกิดขึ้นในขั้นตอนการคอมไพล์ Unchecked exceptions ทุก ๆ exceptions ที่เกิดขณะโปรแกรมทำงานจะเรียกว่า Unchecked exceptions ผู้เขียนโปรแกรมต้องเขียนการจัดการข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น ในขณะที่โปแกรมทำงานเพื่อให้โปรแกรมดำเนินต่อไปตัวอย่าง เช่น ArithmeticException ArrayIndexOutOfBoundsException NullPointerException

exception handling exception handling ของภาษาจาวามีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้ try { <statements>; } catch (Throwable1 t) { } catch (Throwable2 t) { } catch (Throwable3 t) { }

การทำงานของ Exception Handling คำสั่งที่อยู่ใน try block นั้นจะทำงานตามปกติ หากทำงานจนจบ โดยไม่มีความผิดพลาดเกิดขึ้น ก็จะทำงานที่คำสั่งหลังcatch block สุดท้าย แต่ถ้าหากมี exception เกิดขึ้นใน try block โปรแกรมจะหยุดทำงานที่บรรทัดนั้น แล้วสร้าง instance ของ exception และ throws ไปยังตำแหน่งที่มีความผิดพลาด ถ้า คำสั่งที่มีความผิดพลาดนั้นมี catch block ที่มีค่าพารามิเตอร์ ตรงกับ exception ที่เกิดขึ้น คำสั่งใน catch block นั้นก็ถูก ทำงาน จากนั้นโปรแกรมจะทำงานในคำสั่งหลัง catch block สุดท้าย

การทำงานของ Exception Handling (ต่อ) exception ที่ถูก throws ออกมาจากคำสั่งใน try block หากไม่มี catch block ดักจับ exception จะถูกส่งออกมาจากเมธอดที่เกิดความผิดพลาดไปยังเมธอด ที่เรียกใช้งาน ซึ่งเรียกว่า exception propagation ถ้าเมธอดที่เรียกใช้นั้นมีการ จับ exception ขบวนการจัดการก็สิ้นสุด แต่ถ้าไม่มีก็จะเกิด propagation ไป เรื่อย ๆ จนถ้า exception ออกจาก main แล้วก็จะถูก java จัดการ ดังนี้ พิมพ์ exception พิมพ์ activation stack เพื่อให้รู้ถึงจุดกำเนิดและเส้นทาง propagation หยุดการทำงานของ JVM

Throw Statements ใช้สำหรับการโยน exception ในตำแหน่งที่ต้องการออกมาออกมา throw จะตามด้วย instance ของ exception ที่จะถูกโยน หาก instance นั้นมีอยู่ก่อนก็สามารถโยนออกมาได้เลย แต่ถ้าไม่มีต้องทำการสร้างขึ้นมา ด้วยคำสั่ง new ก่อน คำสั่ง throw นั้นอาจอยู่ใน try block ที่มีการดักจับ exception หรือไม่ก็ อยู่ใน method ที่มีการระบุว่าจะส่ง exception นั้นออกมา

Method ที่มีการ Throws Exception คือการระบุหรือคาดหมายว่า method นั้นจะมีการ throws exception ออกมา โดยเราจะใช้คำสั่ง throws หลังวงเล็บของ พารามิเตอร์ตามด้วย class ของ exception ที่อาจถูกโยน ออกมา

Finally block เป็นบล็อกที่มีหรือไม่มีก็ได้ แต่ถ้ามี มีได้เพียง 1 block เป็นบล็อกที่ทำงานเสมอ ไม่ว่าโปรแกรมจะผ่าน try หรือ catch block หรือไม่ try { <statements>; } catch (<parameter>) { <statements>; } finally { <statements>; }

Quiz 