การดำเนินงานสาธารณสุขชายแดน ไทย- สปป.ลาว จังหวัดน่าน การดำเนินงานสาธารณสุขชายแดน ไทย- สปป.ลาว จังหวัดน่าน
ข้อมูลทั่วไปจังหวัดน่าน สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว ข้อมูลทั่วไปจังหวัดน่าน -ระยะทางตามแนวชายแดน 277 กม. -อำเภอชายแดน 7 อำเภอ 17 ตำบล 50 หมู่บ้าน -ด่านถาวร 1 แห่ง (ด่านห้วยโก๋น อ.เฉลิมพระเกียรติ) - จุดผ่อนปรน 2 แห่ง (ห้วยสะแตง อ.ทุ่งช้าง,ใหม่ชายแดน อ.สองแคว - ช่องทางธรรมชาติ 27 ช่องทาง
ข้อมูลด่าน/จุดผ่อนปรน ระหว่าง จังหวัดน่าน ราชอาณาจักรไทย และ สปป.ลาว ข้อมูลด่าน/จุดผ่อนปรน ระหว่าง จังหวัดน่าน ราชอาณาจักรไทย และ สปป.ลาว ด่าน/จุดผ่อนปรน จังหวัดน่าน ราชอาณาจักรไทย สปป.ลาว 1. ด่านถาวรห้วยโก๋น บ้านห้วยโก๋น หมู่ 1 ตำบลห้วยโก๋น อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน กับบ้านนาหลวง เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว 2. จุดผ่อนปรนบ้านห้วยสะแตง บ้านห้วยสะแตง หมู่ 2 ตำบลงอบ อำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน กับบ้านป่าหว้าน เมืองเชียงฮ่อน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว 3. จุดผ่อนปรนบ้านใหม่ชายแดน บ้านใหม่ชายแดน หมู่ 9 ตำบลชนแดน อำเภอสองแคว จังหวัดน่าน กับบ้านเตสอง เมืองเชียงฮ่อน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
แขวงไชยบุรี สปปล. มีชายแดนติดกับประเทศไทย ๖ จังหวัดประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย ,พะเยา น่าน ,อุตรดิตถ์ ,พิษณุโลก และเลย
ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ปริมาณฝุ่นควัน มลพิษ ห่างชายแดนไทย 40 กม. โรงไฟฟ้าหงสา เมืองหงสา แขวงไชยบุรี โครงการมีมูลค่า 3,700 ล้านดอลาร์ หรือ 129,500 ล้านบาท เวลาสัมปทาน 30 ปี เหมืองถ่านหินที่ขุดขึ้นมาป้อนโรงไฟฟ้า ปีละ 13 ล้านตัน รวม 325 ล้านตันตลอดอายุสัมปทาน -ผลกระทบต่อคนน่าน มีคนงาน ๓,๐๐๐ คน มีผลต่อระบบการรักษา พยาบาลและ การส่งต่อผู้ป่วยของจังหวัดน่าน ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ปริมาณฝุ่นควัน มลพิษ
นายเกษตร ปะทิ สสอ.เฉลิมพระเกียรติ – รวบรวม และเรียบเรียง ข้อมูลเบื้องต้นด้านสาธารณสุข สปป.ลาว นายเกษตร ปะทิ สสอ.เฉลิมพระเกียรติ – รวบรวม และเรียบเรียง
ระบบบริการสุขภาพ เมืองเงิน แขวงไชยะบูลี สปป.ลาว เจ้าเมืองเงิน + แผนกสาธารณสุขแขวงไชยะบูลี บังคับบัญชา สาธารณสุขอำเภอเมืองเงิน เป็นหัวหน้าบริหารจัดการ ทั้งการแพทย์และการสาธารณสุข โรงหมอเมืองเงิน แผนกส่งเสริมป้องกันโรค โรงหมอน้อย สุขศาลา รับผิดชอบการแพทย์ รับผิดชอบด้านสาธารณสุข ภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำบ้าน (อสบ.) หมอตำแย แพทย์บ้าน เป็นประชาชนผู้ได้รับการอบรมด้านการรักษาพยาบาล คล้ายอสม.
สถานบริการพยาบาลในเมืองเงิน แขวงไชยะบูลี โรงหมอเมืองเงิน (ดูแลโรคทั่วไป) ห้องการสาธารณสุข เมืองเงิน (ดูแลโรคทั่วไป) สุขศาลานายาง สุขศาลาปางบง สุขศาลาห้วยผึ้ง สุขศาลาบ้านทอง สุขศาลาผาแดง สุขศาลาห้วยเงย
หลักปฏิบัติด้านสุขภาพ ของ สปป.ลาว (อ้างอิงจาก เมืองเงิน แขวงไชยะบูลี) หลักปฏิบัติด้านสุขภาพ ของ สปป.ลาว (อ้างอิงจาก เมืองเงิน แขวงไชยะบูลี) สิทธิ์รักษาพยาบาล: ประชาชนทั่วไปต้องจ่ายเงินก่อนได้รับยา หรือการทำหัตถการ บางกลุ่มจะมีสิทธิเบิกได้ เช่น ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่, ผู้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยอนาถา คุ้มครองผู้บริโภค: ยังไม่มีความชัดเจน บริการการแพทย์ฉุกเฉิน: ยังไม่มีระบบ EMS หรือ บริการรถขนส่งผู้ป่วยใดๆ ญาติต้องเป็นผู้ขนส่งผู้ป่วย (แพทย์อาจออกไปรับได้ในบางกรณี) หากผู้ป่วยอาการสาหัสอาจติดต่อ รพ.เฉลิมพระเกียรติเพื่อนำรถ EMS มารับไปรักษาในประเทศไทย (ไม่มีช่องทางแบบทางการ ต้องใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัว)
ศักยภาพการแพทย์ เมืองเงิน แขวงไชยะบูลี สปป.ลาว ไม่สามารถทำการผ่าตัดได้ (ไม่มีเครื่องมือที่จำเป็น และวิสัญญีแพทย์) หัตถการที่ทำได้: เย็บแผล, ทำคลอด, เข้าเฝือก ไม่มีเครื่อง X-ray (มีเครื่องของเอกชนที่ต้องจ่ายเงินเพื่อรับบริการ) หมายเหตุ: โรงหมอหงสา (อำเภอใกล้เคียง)มีศักยภาพทางการแพทย์สูงกว่า สามารถทำการผ่าตัดได้ มีวิสัญญีแพทย์ประจำ โรงหมอหงสามีระยะห่างออกจากโรงหมอเมืองเงินประมาณ 50 กิโลเมตร เป็นเส้นทางภูเขา ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโมง การส่งตัวมาฝั่งไทยจึงสะดวกกว่า (ห่างจากด่าน 10 กิโลเมตร) แพทย์โรงหมอเมืองเงินติดต่อแพทย์ไทยผ่านทางโทรศัพท์, Line
ปัญหาเกี่ยวกับผู้ป่วยจากสปป.ลาว เข้ามารับการรักษาเป็นจำนวนมากเป็นภาระงาน ภาระค่าใช้จ่าย ความเสี่ยงเรื่องโรคติดต่อ ด่านคัดกรองโรคมีเจ้าหน้าที่ประจำไม่มาก ไม่สามารถคัดกรองผู้เดินทางเข้าประเทศได้ทุกราย หากผู้ป่วยเป็นโรคติดต่อ อาจแพร่กระจายเชื้อระหว่างเดินทางได้ บางรายลักลอบเข้ามารักษา เดินทางผ่านจุดผ่อนปรนการค้าเข้ามารับการรักษาพยาบาล บางครั้งผู้ป่วยที่ถูกส่งต่อจากสปป.ลาว ไม่ได้รับการดูแลทางการแพทย์เบื้องต้น
รวมการเข้ารับบริการ (ครั้ง) ข้อมูลภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาผู้ป่วย สปป. ลาว ตามรายการเข้ารับบริการในสถานพยาบาลของจังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2554 - 2557 ปีงบ ประมาณ รพ.น่าน รพร. ปัว รพ. ทุ่งช้าง รพ.เฉลิมพระเกียรติ สองแคว รวมการเข้ารับบริการ (ครั้ง) ค้างชำระ(บาท) ค้างชำระ (ร้อยละ) 2554 2,187 331 651 2,902 631 6,702 11,219,395 70.99 2555 3,041 413 561 4,749 11 8,775 13,040,954 65.45 2556 3,606 599 521 6,548 11,274 11,764,522 54.69 2557 3,460 1007 347 8712 13526 11,201,311 45.37 แหล่งข้อมูล ; งานสาธารณสุขชายแดน กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สสจ.น่าน
สรุปค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอก รพ.น่าน
สรุปค่าใช้จ่ายผู้ป่วยใน รพ.น่าน
จำนวนผู้ป่วยสปป. ลาวผู้ใช้บริการ และค่ารักษาพยาบาล รพ จำนวนผู้ป่วยสปป.ลาวผู้ใช้บริการ และค่ารักษาพยาบาล รพ.เฉลิมพระเกียรติ จ.น่าน แยกรายปีงบประมาณ และชนิดผู้ป่วย ปี (พ.ศ.) 2555 2556 2557 รวม (บาท) 2,826,457 4,205,945 6,020,652 ชำระ (บาท) 2,221,704 3,573,655 5,278,330 ค้างชำระ (บาท) 604,753 (21.40%) 632,290 (15.03%) 742,322 (12.33%)
อนามัยแม่และเด็ก จำนวนประชาชน สปป.ลาวผู้มารับบริการด้าน ANC และการคลอดในประเทศไทย ที่รพ.เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน พ.ศ. 2553 61 ราย พ.ศ. 2554 91 ราย พ.ศ. 2555 147 ราย พ.ศ. 2556 190 ราย พ.ศ. 2557 340 ราย
การประสานความร่วมมือด้านสาธารณสุข จังหวัดน่าน กับแขวงไชยบุรี การประสานความร่วมมือด้านสาธารณสุข จังหวัดน่าน กับแขวงไชยบุรี การประชุมร่วมมือเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค ตามแนวชายแดน ไทย-ลาว รวม 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29-30 ตุลาคม 2552 ณ โรงแรมอานัน แขวงไชยบุรี สาธารณสุขแขวงไชยบุรี เป็นเจ้าภาพ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 23-24 ธันวาคม 2553 ณ โรงแรมเทวราช จังหวัดน่าน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน เป็นเจ้าภาพ ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 30-31 สิงหาคม 2555 ณ สำนักงานปกครองเมืองหงสา แขวงไชยบุรี ครั้งที่ ๔ เมื่อวันที่ 7-8 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมน่านตรึงใจ อ.เมือง จ.น่าน สคร. 10 เจ้าภาพ หมายเหตุ การประชุมครั้งที่ 1,2 ใช้งบประมาณโครงการความร่วมมือเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคในเขตลุ่มแม่น้ำโขง (Mekong Basin Disease Survillance : MBDS Project) - การประชุมครั้งที่ 3 ใช้งบประมาณของ บริษัทไฟฟ้าหงสา จำกัด และสสจ.น่าน
ประเมินโดยกลุ่มเจ้าพนักงานสาธารณสุข ในอำเภอชายเดน จังหวัดน่าน การติดต่อพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการ ประเมินโดยกลุ่มเจ้าพนักงานสาธารณสุข ในอำเภอชายเดน จังหวัดน่าน
การดำเนินงานด้านสาธารณสุขชายแดน ไทย-ลาว ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน ลำดับ โครงการ/กิจกรรม วันที่ดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย 1 จัดอบรมทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)ให้แก่บุคลากรสาธารณสุข 25-27กุมภาพันธ์ 57 ผู้รับผิดชอบงานระบาดวิทยา รพ.สต./สสช./สสอ./รพ./สสจ. 2 การประเมินมาตรฐานของทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)ระดับอำเภอ ปีงบประมาณ 57 ทีม SRRT ระดับอำเภอ 3 อบรม อสม.แกนนำในการเฝ้าระวังภัยพิบัติ ต.ห้วยโก๋น อ.เฉลิมพระเกียรติ หลักสูตร 2 วัน เดือนพฤศจิกายน 56 อสม. อ.เฉลิมพระเกียรติ จำนวน 80 คน 4 อบรม อสม.เชียวชาญด้านการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ อ.เฉลิมพระเกียรติ หลักสูตร 1 วัน เดือนกุมภาพันธ์ 56 อสม. อ.เฉลิมพระเกียรติ จำนวน 44 คน 5 ซ้อมแผนอุบัติเหตุ โดยอ.เฉลิมพระเกียรติ ร่วมกับ บริษัทไฟฟ้าหงสาจำกัด เดือนกรกฎาคม 55 จนท./บุคลากรสาธารณสุข อ.เฉลิมพระเกียรติ 60 คน
ประเด็นพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาการแพทย์ฉุกเฉิน และระบบ(ข้อตกลง)ส่งต่อผู้ป่วย (โรงพยาบาลฝั่งไทย และฝั่งลาว) พัฒนาระบบระบาดวิทยา ระบบเฝ้าระวังโรค และการประสานข้อมูลเชิงระบาดในโรคที่เป็นปัญหา เช่น TB, STD (สาธารณสุขฝั่งไทย และลาว) การสนับสนุนเครื่องมือแพทย์และเวชภัณฑ์ ที่จำเป็น (อาจเป็น CSR) การพัฒนาศักยภาพบุคลากรแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข (โรงพยาบาลและสถานบริการสุขภาพฝั่งลาว) ศักยภาพในการดูแลรักษาผู้ป่วย ความชำนาญในการใช้ และอ่านผลจากเครื่องมือแพทย์ที่วางแผนจะให้การสนับสนุน เช่น EKG, Ultrasound การเฝ้าระวัง และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงระบาดวิทยา
ประเด็นพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาศักยภาพภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำบ้าน หมอตำแย แพทย์บ้าน โดยจัดหลักสูตรอบรม
แนวคิดทางเลือกเพื่อการพัฒนาความร่วมมือระหว่างสองประเทศ ให้มีการจัดตั้งสำนักงานใกล้พรมแดนด่านห้วยโก๋น-เมืองเงิน มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขไทย และ/หรือ ลาว มาร่วมประจำ จุดประสงค์: เพื่อประสานงานทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อดูแลการพยาบาลเบื้องต้น เพื่อประเมินผู้ป่วยก่อนส่งต่อจากสปป.ลาว มา ไทย เพื่อร่วมดำเนินการคัดกรองโรคกับด่านควบคุมโรค ห้วยโก๋น เพื่อลงทะเบียนและให้คำแนะนำผู้ป่วยชาวลาวที่จะเข้ามารับการรักษาในประเทศไทย (ลดการลักลอบเข้ามารักษา) ทั้งนี้ ขอบข่ายหน้าที่จะเป็นไปตามศักยภาพของเจ้าหน้าที่ที่ไปประจำ ณ สำนักงานแห่งนี้
ปัญหาและอุปสรรค โครงสร้างการปกครองและการบริหารภายใน สปป.ลาว ไม่มีงบประมาณพัฒนาระบบโครงสร้างภายในจากรัฐบาลสปป.ลาว เจ้าหน้าที่มักลังเลที่จะปฏิบัติงานนอกเหนือหน้าที่หรือคำสั่ง เพราะหากผู้บังคับบัญชาทราบอาจต้องรับโทษทางวินัย หากชนชั้นปกครอง (ระดับเจ้าแขวง หรือสูงกว่า) ไม่เห็นชอบนโยบายใด ก็ยากที่จะดำเนินการต่อ แต่ในขณะเดียวกัน ช่องทางความสัมพันธ์ส่วนตัว และ การดำเนินงานอย่างไม่เป็นทางการ เป็นช่องทางที่ง่ายและเร็วที่สุดการประสานงานระหว่างประเทศ ในขณะนี้ เช่น อาจให้เจ้าหน้าที่จาก สปป.ลาว เดินทางเข้ามาฝึกอบรมอย่างไม่เป็นทางการได้ งานที่จำเป็นต้องประสานมากกว่าหนึ่งภาคส่วนขึ้นไป เป็นไปได้ยาก เช่น การพัฒนาภาคประชาชน ที่ต้องเกี่ยวข้องทั้งเจ้าเมือง และมวลชนสปป.ลาว
สวัสดี