การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 ภาคกลาง นครปฐม อัตราค่าไฟฟ้า กองซื้อขายไฟฟ้า การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 ภาคกลาง นครปฐม
UNIFORM Tariff อัตราเดียวกัน ทั่วประเทศ
ประเภทอัตราค่าไฟฟ้า 1. บ้านอยู่อาศัย 2. กิจการขนาดเล็ก 1. บ้านอยู่อาศัย 2. กิจการขนาดเล็ก 3. กิจการขนาดกลาง 4. กิจการขนาดใหญ่ 5. กิจการเฉพาะอย่าง (โรงแรม) 6. องค์กรที่ไม่แสวงหากำไร 7. สูบน้ำเพื่อการเกษตร 8. ไฟฟ้าชั่วคราว
0 อัตราส่วนเดียว ( Single Part Tariff) รูปแบบอัตราค่าไฟฟ้า 0 อัตราส่วนเดียว ( Single Part Tariff) - Energy Charge 0 อัตรา 2 ส่วน ( Two Parts Tariff ) - Demand Charge - Energy Charge
รูปแบบอัตราค่าไฟฟ้า TOD TOU บ้านอยู่อาศัย กิจการขนาดใหญ่ อัตรา 1 ส่วน บ้านอยู่อาศัย กิจการขนาดเล็ก องค์กรที่ไม่แสวงหากำไร สูบน้ำเพื่อการเกษตร TOU กิจการขนาดกลาง กิจการขนาดใหญ่ กิจการเฉพาะอย่าง อัตรา 2 ส่วน กิจการขนาดกลาง
ลักษณะโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า 1. บ้านอยู่อาศัย 2. ไม่ใช่บ้านอยู่อาศัย - กิจการทั่วไป - แยกตามขนาดการใช้ไฟฟ้า 3. แตกต่างตามระดับแรงดัน 4. แตกต่างตามช่วงเวลา 5. ประเภทกิจการพิเศษ
ค่าไฟฟ้าที่เรียกเก็บ ค่าไฟฟ้าที่ผู้บริโภคจ่าย แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน ค่าไฟฟ้า ค่าไฟฟ้าฐาน ค่าไฟฟ้าตามสูตรปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ ( ค่า Ft ) + VAT ผู้บริโภค
ค่า Ft ค่าไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงจากค่าไฟฟ้าฐาน เนื่องจากค่าใช้จ่ายที่ไม่อยู่ในการควบคุมของการไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจริงในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปจากฐาน โดยปัจจุบันมีการพิจารณาปรับเปลี่ยนทุก 4 เดือน
ค่า Demand สูงสุดทุกๆ 15นาทีได้มาอย่างไร
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้าคืออะไร (Demand) 1,000 วัตต์ 2,000 วัตต์ 500 วัตต์ 500 วัตต์ ค่าความต้องการทุก 15 นาที = 4,000 วัตต์ หรือ 4 กิโลวัตต์ Kw = จำนวนวัตต์ / 1000
ค่าความต้องการพลังงานไฟฟ้าคืออะไร ( Energy ) 2,000 วัตต์ 500 วัตต์ 1,000 วัตต์ 500 วัตต์ ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า 1000 วัตต์ ใช้เวลา 1 ชม. มิเตอร์ ขึ้น 1 หน่วย kWh = (จำนวนวัตต์ x ชม.)/1000 หรือ เท่ากับ 4 หน่วย
ตัวอย่างใบแจ้งหนี้
ตัวอย่างใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้าอัตรา 1.1.2
ตัวอย่างใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้าอัตรา 2.1.1
ตัวอย่างใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้าอัตรา 2.1.1 (อ่าน 3 ช่วงเวลา)
ตัวอย่างใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้าอัตรา 3.1.1
1
ตัวอย่างใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้าอัตรา 3.2.1
ตัวอย่างใบอ่านหน่วยมิเตอร์ TOU
การเรียกเก็บค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ จะเรียกเก็บกับผู้ใช้ไฟฟ้าที่คิดค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (ประเภทที่ 3 , 4 , 5 ประเภทที่ 6 ข้อ 6.2 และประเภทที่ 7 ข้อ 7.2) หากเดือนใดมีเพาเวอร์แฟคเตอร์แลค (Lag) ที่มีค่ากิโลวาร์สูงสุด เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของค่ากิโลวัตต์สูงสุด ส่วนที่เกินจะเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท (เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์)
?? ทำไมต้องคิดค่า P.F. ?? 1. กระแสไฟฟ้าที่ไหลอยู่ในวงจรไฟฟ้าจะลดลง 2. ระบบไฟฟ้าสามารถรับโหลดได้มากขึ้น 3. ระบบไฟฟ้ามีกำลังสำรองมากขึ้น 4. ลดกำลังงานสูญเสียในระบบไฟฟ้า 5. ลดแรงดันตก เพิ่มความสามารถของสายส่ง 6. ลดแรงดันตกในหม้อแปลง 7. ลดกำลังสูญเสียในหม้อแปลง 8. ลดค่าไฟฟ้า
สรุปแนวทางในการบริหารจัดการต้นทุนค่าไฟฟ้า อัตราประเภท 1 , 2 , 7 (อัตราปกติ) จะคิดค่าไฟฟ้าเฉพาะด้านหน่วย อัตรา 1 บ้านอยู่อาศัย อัตรา 2 กิจการขนาดเล็ก อัตรา 7 สูบน้ำเพื่อการเกษตร ซึ่งหน่วยการใช้ไฟฟ้าจะขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เราใช้งานในรอบเดือนนั้นๆ ดังนั้นแนวทางการประหยัด คือ ใช้ไฟฟ้าเท่าที่จำเป็น และเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ประหยัดพลังงาน
สรุปแนวทางในการบริหารจัดการต้นทุนค่าไฟฟ้าอัตรา TOU แนวทางการจัดการ ค่าความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (Demand Charge) มีหน่วยเป็น กิโลวัตต์ (kW) ควบคุมการใช้ ค่าดีมานด์ ถ้าใช้ครั้งเดียวก็ต้องจ่ายทั้ง เดือนหรืออาจใช้ในช่วง Off Peak ซึ่งไม่นำค่าดีมานด์ มาคิดเงิน เลือกใช้เครื่องจักรที่กินไฟน้อยกว่า และบำรุงรักษาเครื่องจักรอย่างสม่ำเสมอ ค่าพลังงาน (Energy Charge) มีหน่วยเป็น (ยูนิต) (kWH) หลีกเลี่ยงการใช้โหลดในช่วงเวลา Peak และใช้ในช่วง Off Peak แทน ซึ่งมีอัตราค่าไฟที่ถูกกว่า และลดการใช้โหลดในสิ่งที่ไม่จำเป็น ปิดเมื่อไม่ใช้ ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ (PF) มีหน่วยเป็น kVAR ถ้าค่า PF<.85 จะเสียค่าปรับค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ (PF) kVAR ละ 56.07 บาท แก้ไขโดยตรวจสอบระบบคาปาซิสเตอร์,ฟิวส์ ให้อยู่ในสภาพปกติ และเพียงพอ
สรุปแนวทางในการบริหารจัดการต้นทุนค่าไฟฟ้าอัตรา TOU แนวทางการจัดการ ติดตั้งหม้อแปลงขนาด 250 kVA ควรใช้โหลดไม่เกิน 213 kW (85%) หากมีการเพิ่มเครื่องจักรต้องพิจารณาเพิ่มขนาด หม้อแปลงให้เหมาะสมกับโหลดที่เพิ่มขึ้น โหลด(กระแส) แต่ละเฟส ตรวจสอบการใช้กระแสแต่ละเฟสให้ใกล้เคียงกัน หรือ balance load
การบริหารการจัดการลดค่าไฟฟ้า กรณีที่ 1 100 kW จำนวน 2 ชุด เดินเครื่อง ระยะเวลา 1 ชม. Demand = (100+100) = 200 kW พลังงานไฟฟ้า = (200x1) = 200 หน่วย + 100 kW 100 kW กรณีที่ 2 แบ่งเวลาการใช้โหลดใหม่ เดินเครื่องไม่พร้อมกัน เดินเครื่อง ชุดที่ 1 ขนาด 100 kW ระยะเวลา 1 ชม. เดินเครื่อง ชุดที่ 2 ขนาด 100 kW ระยะเวลา 1 ชม.ถัดไป Demand = 100 kW พลังงานไฟฟ้า = ((100x1)+(100x1)) 200 หน่วย = 1 ชม. ชุดที่ 1 100 kW = 1 ชม. ชุดที่ 2 100 kW
เครื่องที่ 5 10 kw เครื่องที่ 4 เครื่องที่ 3 เครื่องที่ 2 เครื่องที่ 1 15 นาที 15 นาทีถัดไป 15 นาทีถัดไป 15 นาทีถัดไป 15 นาทีถัดไป 15 นาทีถัดไป 15 นาทีถัดไป
จบการบรรยาย