Basic Electronics.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Electronic Circuits Design
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
โครงสร้างของหุ่นยนต์เดินตาม เส้น. Sensor และหลักการ ทำงาน เซนเซอร์บนตัว หุ่นยนต์ รูปเซนเซอร์ขยายวงจรเซนเซอร์
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
สื่อการเรียนการสอน วิชา อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร
บทที่ 7 วงจรไบอัสกระแสตรง
หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ( I ) ความต้านทาน ( R ) และความต่างศักย์ (E, V)
ครูวัฒนา พุ่มมะลิ (ครูเจ๋ง)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
รหัส มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 (10)
Gas Turbine Power Plant
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 3 คุณลักษณะของไดโอด
บทที่ 5 ไดโอดชนิดพิเศษ ไดโอดชนิดพิเศษ เช่น ซีเนอร์ไดโอด ไดโอดเปล่งแสง โพโต้ไดโอด และไดโอดแบบอื่นๆ ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการควบคุมในงานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม.
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
อิเล็กทรอนิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
Basic Input Output System
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
งานเชื่อมโลหะโดยเครื่องเชื่อมไฟฟ้า
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
รายวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)
แผ่นดินไหว.
วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Basic Electronics

V, I, และ R V (แรงดัน) คือปริมาณของพลังงานต่อประจุไฟฟ้า ที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งของวงจร มีหน่วยเป็น โวลต์ I (กระแส) คืออัตรการไหลของประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมป์ R (ค่าความต้านทาน) คือสิ่งที่ขวางกั้นไม่ให้กระแสไหล มีหน่วยเป็นโอห์ม

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน

ตัวต้านทาน มีหน้าที่ต้านทานกระแส

ตัวต้านทานแบบปรับค่าได้ (Trim pot)

Diode ไดโอดเป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำอย่างง่าย มีสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้า ไหลผ่านได้ทางเดียวในทิศทางการไบแอสตรง สำหรับซิลิคอนไดโอด จะเริ่มนำกระแสที่แรงดันตกคร่อม 0.6 โวลต์

ไดโอด (Diode) ไดโอด จะมีคุณสมบัติเหมือนกับสวิตซ์ที่ปิดและเปิดวงจร นั่นคือ สวิตซ์ปิดวงจร เกิดขึ้นเมื่อการป้อนไฟให้กับไดโอดแบบไบแอสตรง ก็ยอมให้กระแสไหล ผ่านได้ สวิตซ์เปิดวงจร เกิดขึ้นเมื่อการป้อนไฟให้กับไดโอดแบบไบแอสกลับ จะไม่ยอมให้กระแส ไหลผ่านได้ ดังนั้น ไดโอด ทำหน้าที่หลัก คือ ควบคุมกระแสให้ไหลในทิศทางเดียวในทิศทางการไบแอสตรง โดยการควบคุมแรงดันไฟตกคร่อมไดโอดเอง 9 20/12/2013

การนำเอาไดโอดไปใช้งาน

ไดโอดชนิดต่างๆ

ไดโอดเปล่งแสง LED จะให้แสงสว่างเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลถูกขั้ว ขั้วแอโนดต่อกับกระแสบวก ขั้วคาโธดต่อกับกระแสลบโดยทั่วไปขั้วคาโธดจะมีรอยบาก ควรต้องมีตัวต้านทานค่าเหมาะสมต่ออนุกรมด้วยเสมอ เพื่อรักษาแรงดัน คร่อม LED

LED (Light Emitting Diode) เมื่อ LED นำไฟฟ้า จะมีความต่างศักย์คร่อม 2 โวลต์ และควรให้มีกระแสผ่านเพียง 10 มิลลิแอมป์ ถ้าต่อกับแหล่งจ่ายไฟ 9 โวลต์ จะต้องอนุกรม LED กับตัวต้านทานค่าเท่าใด ความต่างศักย์คร่อม LED = 2 โวลต์ ดังนั้นความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน = 7 โวลต์ วิธีทำ V = IR ใช้กฎของโอห์ม แทนค่า V = 7 โวลต์, I = 0.01 A จึงได้ R = 700 โอห์ม

ทรานซิสเตอร์ ตรงกลางของทรานซิสเตอร์ เกิดจากการนำสารกึ่งตัวนำ 3 ชิ้นมาประกบกัน ส่วนประกบด้านนอกทั้งสองทำจากสารกึ่งตัวนำชนิดเดียวกัน เรียก อิมิตเตอร์(Emitter,E) และคอลเล็กเตอร์(Collector,C) ส่วนกลางทำจากสารกึ่งตัวนำชนิดตรงข้าม เรียกว่า เบส ทรานซิสเตอร์ ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ มีขาใช้งานอยู่ 3 ขา ดังรูป 1. ขาเบส (BASE : B) เป็นขาที่ถูกโด๊ปสารน้อยมาก ซึ่งเป็นขาที่อยู่ ตรงกลางของทรานซิสเตอร์ 2. ขาคอลเลคเตอร์(Collector:C) ทำหน้าที่สะสมอิเล็กตรอนอิสระ หรือโฮล ที่มาจาก E ผ่านไปยังขา B ขนาดของ C จะใหญ่กว่า E 3. ขาอิมิตเตอร์(Emitter:E) ทำหน้าที่จ่ายอิเล็กตรอนอิสระหรือโฮลไป ยังขา B ทิศของเครื่องหมายชี้ให้เห็นชนิดของทรานซิสเตอร์

ชนิดของทรานซิสเตอร์ การประกบกันของสารกึ่งตัวนำทำได้โดยการโด๊ป(dope) โดยสารกึ่งตัวนำที่ขา E มีความหนาของการโด๊ปน้อยกว่าสารกึ่งตัวนำที่ขา C ของทรานซิสเตอร์ ดังนั้น คุณสมบัติทางไฟฟ้าของขา E และ C จึงไม่เท่ากัน ทรานซิสเตอร์มี 2 ชนิด สัญลักษณ์ โครงสร้าง โครงสร้าง สัญลักษณ์ 1. ทรานซิสเตอร์ ชนิด NPN 2. ทรานซิสเตอร์ ชนิด PNP

Transister คอลเล็กเตอร์ N P 100W S1 เบส 6 V B 1000W อิมิตเตอร์ จากวงจรดังรูป หากสวิทช์ S1 ไม่ถูกสับลง จะไม่มีกระแสไหลผ่านหลอดไฟ เนื่องจากแรงดัน บวกที่คอลเล็กเตอร์และแรงดันลบที่อิมิตเตอร์จะทำให้ช่วงดีพลีชั่นในทรานซิสเตอร์กว้างขึ้น แต่หากสับสวิทช์ S1 ลง ทำให้มีกระแสปริมาณน้อยไหลเข้าสู่ขาเบส ซึ่งไปทำให้สาร P ได้รับ แรงดันบวก ช่วงดีพลีชั่นจึงแคบลงเนื่องจากเกิดไบแอสตรง กระแสจึงไหลจากขาคอลเล็กเตอร์ สู่อิมิตเตอร์ได้ ทำให้หลอดไฟสว่าง

การประยุกต์ใช้ทรานซิสเตอร์ วงจรเตือนน้ำเต็มโอ่ง โดยให้ LED สว่าง หัววัด B ใช้หัววัดแทนสวิทช์ไปวัดระดับน้ำในโอ่ง หากระดับน้ำถึงหัววัดจะมีกระแสไหล เข้าขาเบส ทำให้กระแสปริมาณมากไหลผ่าน LED

เซนเซอร์แสง แอลดีอาร์ (LDR) ย่อมาจาก Light Dependent Resistor ทำหน้าที่ เปลี่ยนระดับความเข้มแสงให้กลายเป็นค่าความต้านทานทางไฟฟ้า โดยถ้ามีแสงตกกระทบมากแอลดีอาร์จะมีค่าความต้านทานน้อย โฟโต้ทรานซิสเตอร์ มีหลักการทำงานคือ เมื่อแสงมากระทบจนมีค่า ถึงระดับหนึ่งจึงจะทำงาน ซึ่งกระแสไฟฟ้าจะไหลเพียงทางเดียว นิยมใช้วัดแสงที่มีความเข้าไม่แตกต่างกันมากนัก และยังสามารถ รับแสงที่ตาเปล่ามองไม่เห็น โฟโต้ไดโอดมีหลักการทำงานเหมือนโฟโต้ทรานซิสเตอร์ แต่จะ นำกระแสได้น้อยกว่า

เซ็นเซอร์วัดความเข้มแสง (Light Detecting Resister, LDR) เป็นอุปกรณ์วัดความเข้มแสง แสดงออกมาในรูปของค่าความต้านทานทางไฟฟ้า ความต้านทาน = 1 ความเข้มแสง แสง

มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง DC Motor และ Gear Motor DC Motor หมุนด้วยความเร็วสูงเมื่อจ่ายไฟ สามารถกลับทางหมุนได้เมื่อกลับขั้วแหล่งจ่ายไฟ Gear Motor ก็คือ DC Motor ที่ใส่เฟืองทดรอบเพิ่มเข้าไป เพื่อให้ความเร็วรอบลดลงตามความต้องการการนำไปใช้งาน และเพื่อเพิ่มแรงบิดให้กับเพลาของมอเตอร์ DC Motor Gear DC Motor Gear Gear DC Motor

หุ่นยนต์เดินตามเส้น

หุ่นยนต์เดินตามเส้น

หุ่นยนต์เดินตามเส้น C B E BD679 E C B

หุ่นยนต์เดินตามเส้น