การจัดการรายได้รถไฟสาย กรุงเทพฯ - ศรีสะเกษ การจัดการรายได้การขายตั๋วรถไฟ สาย กรุงเทพฯ – ศรีสะเกษ จัดทำโดย : LM9 Group การจัดการรายได้รถไฟสาย กรุงเทพฯ - ศรีสะเกษ LM 9 ภาคพิเศษ การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการจัดการรายได้ (LM7203)
ที่มาและความสำคัญ สถานการณ์ปัจจุบันการเดินทางโดยรถไฟจากรุงเทพ ไปศรีสะเกษ มีสัดส่วนของจำนวนที่นั่งว่างอยู่จำนวนหนึ่ง จากปัญหาดังกล่าวทางกลุ่มจึงต้องการลดสัดส่วนของจำนวนที่นั่งว่างโดยการนำการจัดการรายได้มาวิเคราะห์ใช้
วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ - เป็นการคาดการณ์ราคาที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มรายได้และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - บริหารจัดการจำนวนที่นั่งว่าง ที่ทำให้สูญเสียโอกาสที่ก่อให้เกิดรายได้
สถิติการเดินทางท่องเที่ยวทั่วประเทศจำแนกตามลักษระการเดินทาง ของผู้ที่อาศัยในกรุงเทพมหานคร ไปจังหวัดศรีสะเกษ 33.5 % 12.2 % 54.3 % ที่มา : รายงานการสำรวจสัดส่วนพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2556
การเดินทางด้วยรถไฟเมื่อเทียบกับรถทัวร์ วิเคราะห์ SWOT การเดินทางด้วยรถไฟเมื่อเทียบกับรถทัวร์ S STRENGTHS เส้นทางกรุงเทพ - ศรีสะเกษมีปริมาณผู้โดยสารที่ต้องการเดินทาง หรือ Demand ค่อนข้างสูง การรถไฟมีทรัพยากรที่สามารถรองรับปริมาณผู้โดยสารได้อย่างเพียงพอ การเดินทางด้วยรถไฟมีความปลอดภัยมากกว่าการเดินทางด้วยรถทัวร์ ที่นั่งโดยสารของรถไฟสามารถปรับเป็นเตียงนอนได้ ในขณะที่รถทัวร์ไม่สามารถปรับเป็นเตียงนอนได้
การเดินทางด้วยรถไฟเมื่อเทียบกับรถทัวร์ วิเคราะห์ SWOT การเดินทางด้วยรถไฟเมื่อเทียบกับรถทัวร์ W WEAKNESS การเดินทางด้วยรถไฟใช้เวลานานกว่า (9-10 ชม.) เมื่อเทียบกับการเดินทางด้วยรถทัวร์ (8-9 ชม.) การเดินทางด้วยรถไฟความสะดวกในการเข้าถึง Door to Door น้อยกว่าการเดินทางด้วยรถทัวร์ ค่าตั๋วเดินทางรถไฟชั้น 2 นอนปรับอากาศ (774 บาท) มีราคาสูงกว่าค่าตั๋วเดินทางรถทัวร์ชั้น 1 (591บาท)
การเดินทางด้วยรถไฟเมื่อเทียบกับรถทัวร์ วิเคราะห์ SWOT การเดินทางด้วยรถไฟเมื่อเทียบกับรถทัวร์ o OPPORTUNITIES เป็นการคาดการณ์ราคาที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มรายได้ และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นการช่วยลดค่าครองชีพของประชาชน ทำให้ประชาชนมีกำลังซื้อมากขึ้น สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ จากการที่รัฐบาลให้ความสำคัญกับการขนส่งระบบราง ทำให้อนุมัติงบประมาณในการก่อสร้างทางคู่หลายเส้นทางทั่วประเทศรวมทั้งเส้นทางสายศรีสะเกษด้วย ซึ่งส่งผลให้ระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทางลดลง
การเดินทางด้วยรถไฟเมื่อเทียบกับรถทัวร์ วิเคราะห์ SWOT การเดินทางด้วยรถไฟเมื่อเทียบกับรถทัวร์ T THREATS สูญเสียรายได้ในกรณีที่มีการคาดการณ์ผิดพลาด การถูกควบคุมราคาและต้องบริการขนส่งสาธารณะที่ไม่สะท้อนต้นทุนจริง (ไม่มีอิสระในการกำหนดอัตราค่าโดยสาร) ผู้ใช้บริการ มีความคาดหวังจากการใช้บริการโดยมีทางเลือกในการใช้บริการเพิ่มขึ้น (การแข่งขันจากคู่แข่ง)
3 5 8 10 12 14 16 1 11 13 15 4 6 7 2 9
เกี่ยวกับขบวนรถนอนปรับอากาศ 2 ชั้น
การคำนวณหา Capacity ของผู้โดยสารที่เดินทางจากกรุงเทพฯ - ศรีสะเกษ การวิเคราะห์ข้อมูล การคำนวณหา Capacity ของผู้โดยสารที่เดินทางจากกรุงเทพฯ - ศรีสะเกษ รายการ ธันวาคม (Seat) มกราคม (Seat) กุมภาพันธ์ (Seat) มีนาคม (Seat) Average /Month (Seat) Average /Day (Seat) จำนวนคนที่เดินทางทั้งหมด(ทุกต้นทาง-ทุกปลายทาง) 9,267 7,784 7,013 9,883 8,487 283 จำนวนคนที่เดินทาง กรุงเทพ-ศรีสะเกษ 1,735 1,539 1,386 1,944 1,651 56 % คนที่ไปศรีสะเกษต่อจำนวนคนที่เดินทางทั้งหมด 19 20 จำนวนที่นั่งทั้งหมดใน 1 ขบวน(ทุกต้นทาง-ทุกปลายทาง) 12,276 11,088 11,979 400 ประมาณการณ์จำนวนที่นั่งทั้งหมดของ คนที่เดินทาง กรุงเทพ-ศรีสะเกษ 2,332 2,455 2,218 2,365 78
การคำนวณที่นั่ง จำนวนที่นั่งผู้โดยสารเดินทางจาก กรุงเทพฯ ไป ศรีสระเกษ - รถไฟ 56 คน (จากข้อมูลที่ได้) จากสถิติที่นำเสนอ พบว่า ผู้โดยสารที่เดินทางด้วยรถไฟ มีเพียงประมาณ 1 % ของผู้เดินทางท่องเที่ยวทั้งหมด ในขณะที่ รถโดยสารหรือรถทัวร์มีผู้โดยสารคิดเป็น 33.5 % ของผู้เดินทาง ดังนั้นเราอาจคิดจำนวนผู้โดยสารของรถทัวร์ได้เป็น (56 /0.01)*0.335 = 1876 คน Demand รวมของการเดินทางด้วยรถไฟ และ รถทัวร์จึงคิดเป็น 1876 + 56 = 1932 คน 1876 คน 56 คน
จำนวนผู้โดยสารในแต่ละวันของขบวน 23 อีสานวัฒนา การวิเคราะห์ข้อมูล จำนวนผู้โดยสารในแต่ละวันของขบวน 23 อีสานวัฒนา Day ธ.ค.-16 ม.ค.-17 ก.พ.-17 มี.ค.-17 Passenger % Sun 1280 14% 1599 21% 1326 19% 1628 16% Mon 1208 13% 1127 983 1193 12% Tue 991 11% 1038 696 10% 1049 Wed 976 767 708 1309 Thu 1350 15% 985 920 1607 Fri 1926 1451 1535 22% 1878 Sat 1534 17% 817 845 1219 Grand Total 9265 7784 7013 9883
การหา Protection Level
ประมาณการจำนวนผู้โดยสารจากมุมมองด้านราคา SEAT Bus demand (More than train 33.5%) = 1876 All demand (BKK-Srisaket) = 1932 Demand'@THB 591 (BUS) = ปัจจัยในการเลือกโหมดการเดินทางของผู้โดยสาร มองจากราคา 20% = 375.2 Demand'@THB 774 ( Train) = 56
สรุปการวิเคราะห์ข้อมูล Old Policy : Average Daily Revenue = 43,444 THB New Policy with Protection Seats Protection Level (P1) 774 THB = 52 Seats Discount Ticket (P2) 550 THB = 26 Seats Total Revenues = (52*774) (26*550) = 54,548 THB/Day รายได้เพิ่มขึ้นจากนโยบายเดิม 11,104 บาท ต่อวัน หรือคิดเป็นประมาณ 333,120 บาทต่อเดือน รายได้เพิ่มขึ้น 25.5% จากนโยบายเดิม What-if 52 54,548.00 53 54,772.00 54 54,996.00 55 55,220.00 56 55,444.00 57 55,668.00 58 55,892.00
จบการนำเสนอ Q & A