HTML (2) – Web Programming and Web Database

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Active Sever Page.
Advertisements

FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
Location object Form object
การสร้างแบบฟอร์ม <form>
ทส215 การเขียนโปรแกรมบนเว็บ 1
การสร้างตาราง (Table)
– Web Programming and Web Database
– Web Programming and Web Database
จากไฟล์ save_db.php.
PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์
Electronic Commerce เว็บฟอร์ม (Web Form).
HTML.
การสร้างช่องรับข้อมูล
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 12 กรกฎาคม 2550 HTML (HyperText Markup Language)
HTML Hypertext Markup Language Updated : August 23,2012.
Data Form c40205 Web Site Developing in PDP style ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียน ปลวกแดงพิทยาคม.
HTML, PHP.
How to use HyperText Markup Language
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
PHP for Web Programming
การสร้างตาราง,ฟอร์มและการส่งค่า Get and Post คอลโทรลต่าง ๆ
CHAPTER 12 FORM.
Chapter 10 Session & Cookie.
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database) Choopan Rattanapoka.
 Mr.Nitirat Tanthavech.  HTML forms are used to pass data to a server.  A form can contain input elements like text fields, checkboxes, radio-buttons,
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
Introduction to HTML, PHP – Special Problem (Database)
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การเขียน Home page ด้วย HTML (2) ตอน... การใช้ FORM โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสร้าง ฟอร์มรับข้อมูล ง การเขียนเว็บไซต์ เบื้องต้น ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียน ปลวกแดงพิทยาคม.
PHP Html Form && Query string
Form.
โดย ส.อ.ประกาศิต วรนุช วิททยาลัยเฉลิมกาณจนา
การรับและส่งค่าระหว่าง ฟอร์ม อาจารย์อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
ภาษามาร์คอัป เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ภาษามาร์คอัป ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย.
Excel for Business Computer สุริเยนทร์ แดงทองดี เอกสารประกอบการอบรม Excel.
4 Array ● array types ● foreach loop ● Use arrays with Web forms
HTML HyperText Markup Language
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML
BootStrap Front-end framework
HTML (Hypertext Markup Language).
บทที่ 8 เครือข่ายการสื่อสารทางไกลระหว่างประเทศ
JavaSCript.
What is CSS? CSS (Cascading Style Sheet) ซึ่งเราจะใช้ CSS เพื่อให้แก้ไขคุณสมบัติ ของเว็บเพจ ให้มีหน้าตา สีสันหรือรูปแบบเป็นไปตามที่ต้องการ CSS มีลักษณะคล้ายหน้ากาก.
การเชื่อมต่อฐานข้อมูล
PHP-5 ติดต่อฐานข้อมูล MYSQL
เอกสารประกอบการบรรยายรายวิชา Web Technology
- HTML (1) – Web Programming and Web Database
Work Shop 2.
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง การตกแต่ง HTML 5 ด้วย CSS รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บทที่ 4 การสร้างเว็บด้วยภาษา HTML
PHP (1) - variables - math operations - form method
ภาษา JavaScript Webpage Design and Programming Workshop ( )
จงยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้สำหรับออกแบบเว็บไซด์
PHP (2) - condition - loop
HYPER TEXT MARKUP LANGUAGE
SQL – Web Programming and Web Database
Work Shop 1.
JAVASCRIPT Jquery – Web Programming and Web Database
Introduction TO Web PRogramming
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
DOM Document Object Model.
การใช้ jQuery จัดการอีเวนต์
แนวทางการบริหารจัดการงานสอบบัญชี
การสร้างความร่วมมือระหว่างบ้านและโรงเรียน: บทบาทผู้ปกครองและครู
JavaScript&CSS&DOM.
XML, JSON และ AJAX – Web Programming and Web Database
DOM Document Object Model
ใบสำเนางานนำเสนอ:

HTML (2) 030523315 – Web Programming and Web Database Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka

ทบทวน HTML HTML (Hyper Text Markup Language) คือ ภาษา markup ที่ใช้ในการอธิบายเอกสารในรูปแบบเว็บ ทบทวนความจำ tag ต่างๆ เหล่านี้ใช้ทำอะไร <br> <a href=“elec.html”>Hello</a> <img src=“mypic.jpg> <h3> <i>Hello</i> <b>Welcome</b>

งานครั้งที่ 2 : Review สร้างหน้าเว็บ 3 หน้า index.html login.html register.html

HTML Tables การสร้างตารางใน HTML จะประกอบด้วย tag <table> … </table> เพื่อคลุมเนื้อหาในตารางทั้งหมด สามารถใส่ attribute style เพื่อกำหนดสี ความกว้าง กรอบของตารางได้ <tr> … </tr> เป็นการกำหนดแถวของตาราง <td> … </td> เป็นการกำหนดหลักของตาราง <th> … </th> เป็นการกำหนดส่วนหัวของตาราง <!DOCTYPE html> <html> <body> <table style="border:5px solid black; width:20%"> <tr><th>ID</th><th>Name</th></tr> <tr><td>312</td><td>Choopan</td></tr> <tr><td>930</td><td>Damrangkiat</td></tr> <tr><td>752</td><td>Suphot</td></tr> </table> </body> </html>

HTML Tables (2) การทำตารางให้ซับซ้อนขึ้น ด้วยการ span colspan เหมือนเป็นการ merge cell ของหลัก rowspan เหมือนเป็นการ merge cell ของแถว <!DOCTYPE html> <html> <style> table, th, td { border: 2px solid black; border-collapse: collapse; } </style> <body> <table> <tr><th>ID</th><th>Name</th></tr> <tr><td>312</td><td>Choopan</td></tr> <tr><td>930</td><td>Damrangkiat</td></tr> <tr><td>752</td><td>Suphot</td></tr> <tr><td colspan="2">Yahoo</td> </tr> </table> </body> </html>

HTML Tables (3) การทำตารางให้ซับซ้อนขึ้น ด้วยการ span colspan เหมือนเป็นการ merge cell ของหลัก rowspan เหมือนเป็นการ merge cell ของแถว <!DOCTYPE html> <html> <style> table, th, td { border: 2px solid black; border-collapse: collapse; } </style> <body> <table> <tr><th>ID</th><th>Name</th></tr> <tr><td>312</td><td rowspan="2">Choopan</td></tr> <tr><td>930</td> </tr> <tr><td>752</td><td>Suphot</td></tr> </table> </body> </html>

HTML Forms การสร้างแบบฟอร์มใน HTML จะใช้ element <form> …. </form> ภายใน form element จะมี element อื่นที่ทำหน้าที่รับข้อมูล <form> <input> </form>

HTML INPUT (TEXT) <input type=“text” name=“ชื่อตัวแปร”> <!DOCTYPE html> <html> <body> <form> First name:<br> <input type="text" name="firstname"> <br> Last name:<br> <input type="text" name="lastname"> </form> </body> </html>

HTML INPUT attribute Attribute ตัวอย่าง value สำหรับการตั้งค่าเริ่มต้นให้กับ input type=text size ขนาดของช่อง input maxlength จำนวนของตัวอักษรที่ช่องนี้จะยอมรับได้มากที่สุด readonly สำหรับให้ช่องนั้น แสดงค่าได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ disabled ช่องนี้แสดงผลได้อย่างเดียว รวมทั้งไม่มีการส่งค่าใดๆ ทั้งสิ้น required ช่องนี้จะต้องใส่ค่าเสมอ ตัวอย่าง <input type=“text” name=“test” value=“hello” size=“30” readonly> <input type=“text” name=“test” value=“hello” size=“30” required>

HTML INPUT (PASSWORD) <input type=“password” name=“ชื่อตัวแปร”> <!DOCTYPE html> <html> <body> <form> Username:<br> <input type="text" name=“user"> <br> Password:<br> <input type=“password" name=“pass"> </form> </body> </html>

HTML INPUT (radio) <input type=“radio” name=“ชื่อตัวแปร” value=“ค่า”> <form> Gender:<br> <input type="radio" name="gender" value="m"> Male<br> <input type="radio" name="gender" value="f"> Female<br> </form>

HTML INPUT (checkbox) <input type=“checkbox” name=“ชื่อตัวแปร” value=“ค่า”> <form> Programming Skill:<br> <input type="checkbox" name="prog" value="0"> C#<br> <input type="checkbox" name="prog" value="1"> Java<br> <input type="checkbox" name="prog" value="2"> Python<br> </form>

HTML <select> <form> <select name="cars"> <option value="volvo">Volvo</option> <option value="saab">Saab</option> <option value="fiat">Fiat</option> <option value="audi">Audi</option> </select> </form>

HTML <textarea> <form> <textarea name="message" rows="10" cols="30"> The cat was playing in the garden. </textarea> </form>

การส่งค่าในฟอร์มไปประมวลผล การใช้ภาษา HTML เป็นเพียงแค่การสร้างหน้าเว็บ ข้อมูลต่างๆ ที่กรอกในฟอร์มนั้น สามารถจะนำไปประมวลผลที่ Backend ด้วยภาษา PHP ได้ (จะขอกล่าวถึงในภายหลัง) การที่จะให้ฟอร์มสามารถส่งค่าได้นั้น จำเป็นต้องมี attribute ของ FORM ตัวอย่าง <form name=“myform” action=“dest.html” method=“get”> name คือ ชื่อของฟอร์ม ไม่ค่อยมีความสำคัญเท่าไรแล้ว action คือ หน้าเว็บที่ใช้สำหรับรับข้อมูลที่กรอกในแบบฟอร์ม method คือ รูปแบบการส่งข้อมูลไปยังหน้าเว็บที่ใช้สำหรับรับข้อมูล มีด้วยกันหลักๆ 2 วิธี GET POST

ปุ่มสำหรับส่งแบบฟอร์ม (Submit) <input type=“submit” value=“ตกลง”> HTML element นี้จะต้องอยู่ภายใน <form> … </form> เพื่อ ส่งข้อมูลในฟอร์มนั้นไปยังหน้าเว็บปลายทาง <form action=“b.html” method=“post”> Name : <input type=“text” name=“n”> <br> <input type=“submit” value=“confirm”> </form>

HTML input เพิ่มเติม สำหรับ HTML5 type=“number” สำหรับใช้รับค่าตัวเลขเท่านั้น <input type=“number” min=“1” max=“5”> type=“date” สำหรับใช้รับค่าวันที่ <input type=“date” name=“bday” > type=“color” สำหรับใช้รับค่าสี type=“range” สำหรับแสดงเป็น slide bar ค่าย่าน <input type=“range” min=“0” max=“100” > type=“month” สำหรับแสดงค่าเดือนและปี type=“week” สำหรับแสดงสัปดาห์และปี type=“time” สำหรับแสดงเวลา type=“datetime” สำหรับแสดงวันและเวลา type=“email” สำหรับรับข้อมูลที่เป็น email

งานครั้งที่ 2 : index.html ขีดเส้น Link คำว่า “เข้าสู่ระบบ” เมื่อกดจะไปยังหน้า login.html ใช้ style=“float:right” เพื่อให้อยู่ตำแหน่งชิดขวา Bullet list ว่า กระทู้ที่ 1 ถึง กระทู้ ที่ 5 แต่ Link ยังไม่ต้องวิ่งไปที่ไหน ใช้ href=“#” ตัวเลือกแบบ dropdown list มีตัวเลือกคือ -- ทั้งหมด – เรื่องทั่วไป เรื่องเรียน

งานครั้งที่ 2 : login.html ขีดเส้น ตารางมีขอบขนาด 2px ความกว้าง 40% สีหลังของเข้าสู่ระบบใช้สี “#6CD2FE” ช่อง Login รับข้อมูล แบบ text ช่อง Password รับ ข้อมูลแบบ password ปุ่มชื่อ “Login” เมื่อกด Link กรุณาสมัครสมาชิก ให้ไปยังหน้า register.html

งานครั้งที่ 2 : register.html ขีดเส้น ตารางมีขอบขนาด 2px ความกว้าง 40% สีหลังของ กรอกข้อมูล ใช้สี “#6CD2FE” ชื่อบัญชี, ชื่อ-นามสกุลและ อีเมล รับข้อมูล แบบ text รหัสผ่าน รับข้อมูลแบบ password เพศ รับข้อมูลแบบ radio ปุ่มชื่อ “สมัครสมาชิก” เมื่อกด Link กลับไปหน้าหลัก ให้ไป ยังหน้า index.html