วัตถุประสงค์ ปริมาณพื้นฐาน และการจำลองสำหรับกลศาสตร์ (Basic quantities and idealizations of mechanics) กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน และการโน้มถ่วง (Newton’s.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introduction to Statics
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
Kinetics of Systems of Particles A B C F A1 F A2 F C1 F B1 F B2 Particles A B C System of Particles.
สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y)
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
พลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Dynamics)
Engineering Mechanics
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
IP-Addressing and Subneting
Number system (Review)
การวัด และเลขนัยสำคัญ
IP-Addressing and Subneting
Chapter Objectives Chapter Outline
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ฟิสิกส์ (Physics) By Aueanuch Peankhuntod.
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
Chapter Objectives Chapter Outline
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
Linearization of Nonlinear Mathematical Models
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
บทที่ 9 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการสร้างโลกเสมือนเพื่อการเรียนรู้ “Opensimulator” อาจารย์เทพยพงษ์ เศษคึมบง สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา.
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การวัด และหน่วย อ.รัตนสุดา สุภดนัยสร โดย
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์พืชไร่ตระกูลถั่ว
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
ความดัน (Pressure).
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Electrical Instruments and Measurements
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัตถุประสงค์ ปริมาณพื้นฐาน และการจำลองสำหรับกลศาสตร์ (Basic quantities and idealizations of mechanics) กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน และการโน้มถ่วง (Newton’s Laws of Motion and Gravitation) หลักการสำหรับระบบหน่วยแบบ SI (Principles for applying the SI system of units) ขั้นตอนมาตรฐานสำหรับการคำนวณเชิงตัวเลข (Standard procedures for performing numerical calculations) ข้อแนะนำทั่วไปสำหรับการแก้ปัญหา (General guide for solving problems)

Chapter Outline กลศาสตร์ (Mechanics) แนวคิดพื้นฐาน (Fundamental Concepts) หน่วยสำหรับการวัด (Units of Measurement) ระบบหน่วยวัดสากล (The International System of Units) การคำนวณเชิงตัวเลข (Numerical Calculations) ขั้นตอนทั่วไปสำหรับการวิเคราะห์ (General Procedure for Analysis)

1.1 Mechanics กลศาสตร์สามารถจำแนกได้เป็น 3 สาขา - กลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง (Rigid-body Mechanics) - กลศาสตร์ของวัตถุที่เปลี่ยนรูปได้ (Deformable-body Mechanics) - กลศาสตร์ของของไหล (Fluid Mechanics) กลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็งเกี่ยวข้องกับ - สถิตศาสตร์ (Statics) - พลศาสตร์ (Dynamics)

1.1 Mechanics หยุดนิ่ง (At rest) Statics – สมดุล (Equilibrium of bodies) หยุดนิ่ง (At rest) เคลื่อนด้วยความเร็วคงที่ (Move with constant velocity) Dynamics – เคลื่อนที่อย่างมีความเร่ง (Accelerated motion of bodies)

1.2 Fundamentals Concepts ปริมาณพื้นฐาน (Basic Quantities) Length - กำหนดตำแหน่งของจุดใน Space (locate the position of a point in space) Mass - วัดปริมาณของเนื้อวัตถุ (measure of a quantity of matter) Time - ลำดับของเหตุการณ์ (succession of events) Force - การผลักหรือดึงจากวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุ (a “push” or “pull” exerted by one body on another)

1.2 Fundamentals Concepts การจำลอง (Idealizations) อนุภาค (Particles) วัตถุแข็งเกร็ง (Rigid Body) แรงกระทำแบบจุด (Concentrated Force)

1.2 Fundamentals Concepts กฎการเคลื่อนที่ 3 ข้อของ Newton First Law “อนุภาคที่มีสภาพหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็วคงที่ จะรักษาสภาพนั้นต่อไปหากแรงที่กระทำต่ออนุภาคมีความสมดุล (balance)”

1.2 Fundamentals Concepts กฎการเคลื่อนที่ 3 ข้อของ Newton Second Law “อนุภาคที่ถูกแรงแบบไม่สมดุล F กระทำ จะเกิดความเร่ง a ที่มีทิศเดียวกับแรงนั้น และมีขนาดของความเร่งแปรผันตามขนาดของแรง”

1.2 Fundamentals Concepts กฎการเคลื่อนที่ 3 ข้อของ Newton Third Law “แรงระหว่างสองอนุภาคคือ แรงกริยา (Action) และ แรงปฏิกิริยา (Reaction) ต้องมีขนาดเท่ากัน มีทิศตรงกันข้าม และอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน”

1.2 Fundamentals Concepts กฎการดึงดูดจากการโน้มถ่วงของ Newton (Newton’s Law of Gravitational Attraction) น้ำหนัก: ให้ จะได้

1.3 Units of Measurement มาจากคำว่า Système International d’Unités The International System of Units (SI Units) มาจากคำว่า Système International d’Unités F = ma ถูกกำกับด้วยระบบหน่วย ดังนี้ – นิยาม หน่วยพื้นฐาน 3 ตัว – หน่วยอื่น ๆ ได้จากการประกอบกันของหน่วยพื้นฐาน ระบบ SI system กำหนดหน่วยพื้นฐาน 3 ตัว คือ ความยาวเป็น เมตร (m), เวลาเป็น วินาที (s) และมวลเป็น กิโลกรัม (kg) หน่วยของแรง (N) ได้จากสมการ F = ma

1.3 Units of Measurement Name Length Time Mass Force International Systems of Units (SI) Meter (m) Second (s) Kilogram (kg) Newton (N)

1.3 Units of Measurement ณ ตำแหน่งมาตรฐาน, สำหรับการคำนวณ ใช้ ดังนั้น g = 9.806 65 m/s2 สำหรับการคำนวณ ใช้ g = 9.81 m/s2 ดังนั้น W = mg (g = 9.81m/s2) นั่นคือ วัตถุที่มีมวล 1 kg มีน้ำหนัก N, วัตถุที่มีมวล 2 kg มีน้ำหนัก N

1.4 The International System of Units Prefixes ใช้สำหรับปริมาณที่มีค่ามากหรือน้อย เมื่อเทียบกับหน่วยพื้นฐาน แสดงในรูปของ ตัวคูณ ของหน่วย เช่น: 4,000,000 N = 4000 kN (kilo-newton) = 4 MN (mega- newton) 0.005m = 5 mm (milli-meter)

1.4 The International System of Units

1.5 Numerical Calculations ความเข้าด้วยกันในระบบหน่วย (Dimensional Homogeneity) แต่ละพจน์ต้องแสดงในระบบหน่วยเดียวกัน (prefix เดียวกัน) ความเข้าด้วยกันในระบบหน่วยจะต้องมีอยู่ในทุกขั้นตอนของการแก้สมการ แต่ละพจน์สามารถถูกแทนได้ด้วยระบบหน่วยที่คงตัว

1.5 Numerical Calculations เลขนัยสำคัญ Significant Figures ความถูกต้องของจำนวนใด ๆ มาจากจำนวนของระดับเลขนัยสำคัญ เลขนัยสำคัญ คือ จำนวนหลักทั้งหมด (รวม ศูนย์ ด้วย) เช่น 5604 และ 35.60 มี 4 เลขนัยสำคัญ หากจำนวนขึ้นต้น หรือลงท้ายด้วยศูนย์ ให้ใช้ prefix ช่วยในการเขียนเลขนัยสำคัญอย่างถูกต้อง เช่น 400 เขียนเป็น 1 เลขนัยสำคัญ ได้คือ 0.4 (103) เขียนเป็น 2 เลขนัยสำคัญ ได้คือ 0.40 (103) เขียนเป็น 3 เลขนัยสำคัญ ได้คือ 0.400(103) 0.02789 เขียนเป็น 1 เลขนัยสำคัญ ได้คือ 0.03 เขียนเป็น 2 เลขนัยสำคัญ ได้คือ 0.028 เขียนเป็น 3 เลขนัยสำคัญ ได้คือ 0.0279

เลขนัยสำคัญ (significant figures) 0 1 2 3 4 5 3.7 0 1 2 3 4 5 3.75

การปัดเศษทศนิยม มากกว่า 5 ปัดขึ้น น้อยกว่า 5 ปัดทิ้ง มากกว่า 5 ปัดขึ้น น้อยกว่า 5 ปัดทิ้ง เลข 5 พิจารณาตัวเลขถัดไป - กรณีที่หลังเลข 5 ไม่มีตัวเลขต่อท้าย ถ้าปัดขึ้นแล้วเป็นเลขคู่ ปัดขึ้น 3.575 3.58 ถ้าปัดขึ้นแล้วเป็นเลขคี่ ไม่ต้องปัด 7.265 7.26 - กรณีที่หลังเลข 5 มีตัวเลขอื่น (ที่ไม่ใช่ 0) ต่อท้าย ให้ปัดขึ้น เช่น 0.2352 0.24

1.5 Numerical Calculations การปัดเศษ (Rounding Off Numbers) ความละเอียดถูกต้องที่ได้จากการคำนวณไม่สามารถดีกว่าข้อมูลที่นำมาใช้ ผลจากเครื่องคำนวณหรือคอมพิวเตอร์มักเป็นคำตอบที่มีนัยสำคัญของตัวเลขสูงกว่าข้อมูลที่ป้อนเข้าไป การสรุปผลการคำนวณจำเป็นต้องทำการปัดเศษให้เป็นคำตอบที่มีนัยสำคัญที่เหมาะสม (3 – 4 สำหรับงานด้านวิศวกรรม)

1.6 General Procedure for Analysis ในกระบวนการแก้ปัญหา จำเป็นต้องเสนอวิธีที่ถูกขั้นตอนและมีเหตุผล ดังนี้: จำลองหรือเชื่อมโยงสภาพจริงด้วยทฤษฎี วาดผังรูปหรือสร้างตารางสำหรับข้อมูลจากปัญหา ประยุกต์หลักทฤษฎีในรูปแบบเชิงคณิตศาสตร์ แก้ปัญหาด้วย โดยต้องคำนึงถึงหลัก dimensionally homogenous รายงานผลด้วยนัยสำคัญของตัวเลข ใช้วิจารณญาณทางวิศวกรรม อย่างเหมาะสม

Example Convert to 1 km/h to m/s, and 1 m/s to km/h. Solution Remember to round off the final answer to three significant figures.

ข้อตกลงร่วมกันสำหรับการเรียน ไม่ใช้โทรศัพท์ หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ไม่คุยกัน ไม่เข้า-ออกจากห้อง หลังจากเริ่มเรียนไปแล้ว 15 นาที