โครงสร้างอะตอม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Photochemistry.
Advertisements

1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
Principal Facts and Ideas Objectives 1. 1.Understand principal properties of central-force problem 2. 2.Solve problems : angular momentum of a single particle.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
อิเล็กตรอนและโครงสร้างอะตอม Electron & Atomic Structure อ
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
แบบจำลองอะตอมของ Bohr
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
Atomic Structure โครงสร้างอะตอม
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
ว เคมีพื้นฐาน ตารางธาตุ
มวลอะตอม (Atomic mass)
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
แสง เสียง และรังสี ในชีวิตประจำวัน
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element)
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
เชื้อเพลิงและการเผาไหม้
5. ของแข็ง (Solid) ลักษณะทั่วไปของของแข็ง
อุปกรณ์จับยึด และปะเก็นกันรั่ว
อะตอม คือ?.
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Engineering
Water and Water Activity I
แบบจำลองอะตอม โดย ครูวันนา กันหาพร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Periodic Table ตารางธาตุ.
เคมีเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๘
Nakhonsawan school create by rawat saiyud
แบบจำลองอะตอมทอมสัน แบบจำลองอะตอมดอลตัน แบบจำลองอะตอมโบร์
ธาตุอาหารพืช (Plant Nutrient).
ดร.อุษารัตน์ รัตนคำนวณ ภาควิชาเคมี มหาวิทยาลัยแม่โจ้
แก๊ส(Gas) สถานะของสสาร ของแข็ง ของเหลว (ผลึกเหลว) แก็ส
โครงสร้างอะตอม ชุดที่3 อ.ศราวุทธ
กล้องจุลทรรศน์และการย้อมสี
การจำแนกสาร ครูปฏิการ นาครอด.
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
Periodic Atomic Properties of the Elements
พัฒนาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (1)
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
Nuclear Physics I นิวเคลียร์ ฟิสิกส์ 1
พันธะเคมี (Chemical Bonding).
กองส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นทางศิลปะ
โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี
Ernest Rutherford.
อะตอม และ ตารางธาตุ โดย อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 สารและสมบัติของสาร ว มัธยมศึกษาปีที่ 5.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ และอนุภาคมูลฐาน
แก๊ส (Gas) ปิติ ตรีสุกล โครงการจัดตั้งภาควิชาเคมี
โรงพยาบาลคุณธรรม โรงพยาบาลชะอำ
ออยเกน โกลด์ชไตน์ ( Eugen Goldstein )
ตารางธาตุ.
General Chemistry Quiz 9 Chem Rxn I.
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
จุดเรียนรู้การจัดการขยะอินทรีย์และขยะเปียกในครัวเรือน
เลขออกซิเดชัน 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปจะมีเลขออกซิเดชัน -2
Nuclear Symbol kru piyaporn.
แบบจำลอง อะตอมและโมเลกุล
X สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z
The ELECTRON: Wave – Particle Duality
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างอะตอม

ดิโมคริตุส Democritus 460BC-370 BC Greek philosopher

ดิโมคริตุส (Demokritos) นักปราชญ์ชาวกรีก ดิโมคริตุส (Demokritos) อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" ภาพถ่ายของธาตุรีเนียมโดยกล้องจุลทรรศน์ สนามไอออนกำลังขยายประมาณ 750,000 เท่า (จุดสีขาวคืออะตอมของธาตุรีเนียม)

English chemist and physicist จอห์น ดอลตัน John Dalton (1766-1844) English chemist and physicist

John Dalton (ค.ศ.1766-1844) 1. สารต่างๆ ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็ก เรียกว่า อะตอม ซึ่งแบ่งแยกอีกไม่ได้ และสร้างขึ้นหรือทำให้สูญหายไปไม่ได้ 2. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน มีสมบัติเหมือนกันทุกประการทั้งกายภาพและเคมี แต่จะแตกต่างจากอะตอม ของธาตุอื่น ๆ      3. สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปและมีอัตราส่วนการรวมตัวเป็นตัวเลขอย่างง่าย และอะตอมของธาตุสองชนิดอาจรวมตัวกันด้วยอัตราส่วนต่างๆ กัน เกิดเป็นสารประกอบ ได้หลายชนิด เช่น CO2 , SO2, CH4,H2O2, C2H5OH

แบบจำลองอะตอมของดอลตัน “ อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลมตันที่มีขนาดเล็กที่สุดและไม่สามารถแบ่งแยกได้ และไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่หรือทำให้สูญหายไปได้ ”

เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน ( Sir Joseph John Thomson) (1856 - 1940)English physicist

Joseph John Thomson (ค.ศ. 1856 – 1940) การนำไฟฟ้าของแก๊สในหลอดรังสีแคโทด ** ก๊าซนำไฟฟ้าได้เมื่ออยู่ในสภาวะที่มีความดันต่ำ และความต่างศักย์สูงมาก

ZnS ดัดแปลง เพิ่มขั้วไฟฟ้า ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในหลอดรังสีแคโทด รังสีแคโทดเดินทางเป็นเส้นตรงจากขั้วแคโทดไปยังขั้วแอโนด ZnS (-) (+) ดัดแปลง เพิ่มขั้วไฟฟ้า รังสีแคโทดบี่ยงเบนเข้าหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้า

ทอมสัน สรุปว่า “รังสีจากแคโทดประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุลบ” เรียกว่า อิเล็กตรอน (e) ทอมสันเปลี่ยนแก๊ส และเปลี่ยนโลหะ คำนวณหาอัตราส่วนประจุต่อมวล(e/m) ได้เท่าเดิมทุกครั้ง ซึ่งเท่ากับ 1.76 x 108 คูลอมบ์/กรัม

Eugen Goldstein (ค.ศ.1850 – 1930) ดัดแปลงหลอดรังสีแคโทด ทอมสัน

รังสีจากแอโนดเบนออกจากขั้วบวก เข้าหาขั้วลบ เรียกว่า โปรตอน (p) เพิ่มขั้วไฟฟ้า จากการทดลองของโกลด์สไตน สรุปได้ว่า   - รังสีบวกหรืออนุภาคบวกเกิดจากก๊าซที่บรรจุภายในหลอดรังสีแคโทดซึ่ง สามารถเบี่ยงเบนได้ทั้งในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก รังสีบวกมีค่าอัตราส่วนประจุต่อมวลไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับชนิดของก๊าซที่บรรจุ อยู่ภายในหลอดรังสีแคโทด รังสีจากแอโนดเบนออกจากขั้วบวก เข้าหาขั้วลบ เรียกว่า โปรตอน (p)

ทอมสัน อิเล็กตรอน โกลด์ชไตน์ โปรตอน

แบบจำลองอะตอมของทอมสัน “อะตอม เป็นทรงกลม ประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนที่มีประจุบวกและอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ กระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอ ในอะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้าจะมีจำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน”

รอเบิร์ต แอนดรูส์ มิลลิแกน Robert Andrews Millikan (1868 - 1953) American physicist

Robert Andrews Millikan (ค.ศ. 1868 – 1953) การหาประจุและมวลของอิเล็กตรอน โดยทดลองหยดน้ำมัน

มิลลิแกนคำนวณหาค่าประจุอิเล็กตรอน(e) เท่ากับ แผ่นประจุบวก เครื่องพ่นหยดน้ำมัน แผ่นประจุลบ มิลลิแกนคำนวณหาค่าประจุอิเล็กตรอน(e) เท่ากับ 1.6 x 10-19 คูลอมบ์ เสมอ

ดังนั้นมวลของอิเล็กตรอน 1 ตัว หนัก 9.1 x 10-28 กรัม จากการทดลองของทอมสัน คูลอมบ์/กรัม จากการทดลองของมิลลิแกน คูลอมบ์/อิเล็กตรอน มวลของอิเล็กตรอน กรัม ดังนั้นมวลของอิเล็กตรอน 1 ตัว หนัก 9.1 x 10-28 กรัม

จงหาว่าอิเล็กตรอน 10 อนุภาค มีมวลกี่กรัม ตัวอย่างคำนวณ จงหาว่าอิเล็กตรอน 10 อนุภาค มีมวลกี่กรัม จากการทดลองของมิลลิแกน คูลอมบ์/อิเล็กตรอน คูลอมบ์ จากการทดลองของทอมสัน คูลอมบ์/กรัม m = 11 x 10-11 กรัม กรัม

ตัวอย่างที่ 1 จงหามวลของอิเล็กตรอน 1 โมล เมื่ออิเล็กตรอน 1 โมล ตัวอย่างที่ 1   จงหามวลของอิเล็กตรอน  1  โมล   เมื่ออิเล็กตรอน 1  โมล   จะมี  6.02 x 10 23 ตัว วิธีทำ          อิเล็กตรอน         1            ตัว      มีมวล        9.1 x 10 - 28            กรัม อิเล็กตรอน  6.02 x 10 23  ตัว      มีมวล      9.1 x 10 - 28 x  6.02 x 10 23    กรัม   =      5.4 x  10 -4      กรัม                                       มวลของอิเล็กตรอน 1 โมล เท่ากับ 5.4 x 10-4  กรัม

วิธีทำ ประจุอิเล็กตรอน 1.6 x 10 -19 คูลอมบ์ จะมี 1 ตัว ประจุอิเล็กตรอน  4.8 x 10 21   คูลอมบ์    จะมี    = 3   x  1040   ตัว อิเล็กตรอนมีจำนวน  3  x 1040 ตัว ตัวอย่างที่ 3    อิเล็กตรอน  2.73     กรัม  จะมีประจุเท่าใด วิธีทำ          อิเล็กตรอน  9.1 x10 - 28 กรัม  จะมีประจุ    1.6 x 10-19  คูลอมบ์   อิเล็กตรอน  2.73    กรัม  จะมีประจุ       =     4.8  x 108  คูลอมบ์   อิเล็กตรอนมีประจุ  4.8   x  108 คูลอมบ์

ลอร์ด เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด Lord Ernest Rutherford (1871-1937) English phycisist

Ernest Rutherford (ค.ศ.1871-1937) ทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำ ร่วมกับเพื่อนร่วมงานชื่อ ฮันส์ ไกเกอร์ และนักศึกษาปริญญาตรีชื่อ เออร์เนส มาร์สเดน ทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำ

การทดลอง ผลการทดลอง

สรุปผลการทดลอง  ส่วนใหญ่จะเดินทางเป็นเส้นตรง แสดงว่าภายในอะตอมมีที่ว่างมาก  ส่วนน้อยจะมีการเบี่ยงเบนทิศทาง แสดงเฉียดเข้าใกล้อนุภาคที่มีประจุบวก  นาน ๆ ครั้งจะมีการสะท้อนกลับอย่างแรงแสดงว่าภายในอะตอมมีอนุภาคที่ มีมวลและขนาดเล็ก

แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด “อะตอม เป็นทรงกลม ประกอบด้วยโปรตอนที่มีประจุเป็นบวก มีมวลมาก รวมกันอยู่ตรงกลาง เรียกว่า นิวเคลียส และนิวเคลียสมีขนาดเล็กมาก ส่วนอิเล็กตรอนที่มีประจุเป็นลบ มีมวลน้อย จะเคลื่อนที่อยู่รอบ ๆ นิวเคลียสเป็นบริเวณกว้าง” เมื่อทำการทดลองอีกชุดพบว่าค่าประจุของ โปรตอน เท่ากับ 1.6 x 10-19 คูลอมบ์ และมีมวลเท่ากับ 1.67 x 10-24 กรัม

เซอร์ เจมส์ แชดวิก Sir James Chadwick (1891-1974) English physicist

Jame Chadwick (ค.ศ.1891-1972) ทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปที่แผ่นบางของเบริลเลียม การค้นพบนิวตรอนของแชดวิค ทำให้ทราบว่าอะตอม ประกอบด้วยอนุภาค 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน พบว่ามีรังสีจากโลหะที่มีอนุภาคเป็นกลางทางไฟฟ้า อยู่ในนิวเคลียสของอะตอม มีมวลมากกว่าโปรตอนเล็กน้อย แชดวิคตั้งชื่ออนุภาคนี้ว่า นิวตรอน (n)

แบบจำลองอะตอมที่มีนิวตรอน P n e อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลม ประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน รวมกันอยู่ ตรงกลาง เรียกว่า “นิวเคลียส” โดยมีอิเล็กตรอนซึ่งมีจำนวนเท่ากับโปรตอนวิ่งวน อยู่รอบๆ นิวเคลียส

อนุภาคมูลฐานของอะตอม  อนุภาค ชนิดประจุไฟฟ้า ประจุ (C) มวล (g) อิเล็กตรอน (e) -1 1.6 x 10 -19 9.1096 x 10 -28 โปรตอน (p) +1 1.6726 x 10 -24 นิวตรอน (n) 1.6749 x 10 -24

เลขมวล เลขอะตอม ไอโซโทป เลขมวล (mass number, A) หมายถึง ผลบวกของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอน เลขอะตอม (atomic number, Z) หมายถึง จำนวนโปรตอนในนิวเคลียส (ในอะตอมที่เป็นกลาง จำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน) เลขมวล(p+n) การเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ เขียน (A) ไว้ข้างบนด้านซ้ายของสัญลักษณ์ธาตุ เขียน (Z) ไว้ข้างล่างด้านซ้ายของสัญลักษณ์ธาตุ X = สัญลักษณ์ของธาตุ เลขอะตอม(p)

ตัวอย่าง ดังนั้น อะตอมของธาตุลิเทียม ( Li ) มีจำนวนโปรตอน = 3 ตัว อิเล็กตรอน = 3 ตัว และนิวตรอน = 4 ตัว จำนวนนิวตรอน = เลขมวล - จำนวนโปรตอน หรือ = เลขมวล - เลขอะตอม

ไอโซโทป ( Isotope ) หมายถึง อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน มีเลขอะตอมเท่ากันแต่มีเลขมวลต่างกัน เช่น ไอโซบาร์ (  Isobar )   หมายถึง  อะตอมของธาตุต่างชนิดกัน ที่มีเลขมวลเท่ากัน แต่มีเลขอะตอมไม่เท่ากัน เช่น ไอโซโทน ( Isotone ) หมายถึง อะตอมของธาตุต่างชนิดกัน แต่มีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน แต่มีเลขมวลและเลขอะตอมไม่เท่ากัน เช่น ไอโซอิเล็กทรอนิก( Isoelectronics) หมายถึง อะตอมหรือไอออนที่มีจำนวน อิเล็กตรอนเท่ากัน และมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนกัน

U-238 ,U-235 เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ # บางกรณีจะเขียนธาตุที่เป็นไอโซโทปกันดังนี้ “ธาตุ-เลขมวล” U-238 ,U-235 เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ C-14, C-13, C-12 ในการหาอายุของวัตถุโบราณ

ตัวอย่างคำนวณ จงหาจำนวนอนุภาคมูลฐานของธาตุต่อไปนี้ เลขมวล(A)เท่ากับ เลขอะตอม (Z) เท่ากับ จำนวนโปรตอน (p) เท่ากับ จำนวนอิเล็กตรอน (e) เท่ากับ จำนวนนิวตรอน (n) เท่ากับ 11 5 5 5 6

สัญลักษณ์ p+ e- n ทดสอบ 6 6 C 6 11 11 12 19 19 20 20 20 20 X Na K Ca A Z A 6 6 C 6 12 6 Na 11 23 11 11 12 K 39 19 19 19 20 20 20 20 Ca 20 40

อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เกิดจากจำนวนโปรตอนกับจำนวนอิเล็กตรอนภายในอะตอมแตกต่างกัน เนื่องจากจำนวนอิเล็กตรอนเปลี่ยนไป ไอออน(Ion) จำนวนโปรตอน (p) ≠ จำนวนอิเล็กตรอน (e) Negative ion Positive ion p < e p > e

ไอออนบวก (cation) เกิดจากอะตอมให้อิเล็กตรอนไป ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก เท่ากับจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้ไป เช่น จำนวนโปรตอน เท่ากับ 11 จำนวนอิเล็กตรอน เท่ากับ 10 จำนวนนิวตรอน เท่ากับ 12 ไอออนลบ (anion) เกิดจากอะตอมรับอิเล็กตรอน จะมีประจุลบเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอนที่รับ จำนวนโปรตอน เท่ากับ 7 จำนวนอิเล็กตรอน เท่ากับ 10 จำนวนนิวตรอน เท่ากับ 7

นีลส์ โบร์ Niels Bohr (1885-1962) Danish phycisist

Niels Bohr (ค.ศ.1885 - 1962) ศึกษาสเปกตรัมของธาตุ สเปกตรัม (spectrum) คือ ผลที่ได้รับจากพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นและความถี่ต่างๆ เป็นอนุกรมของแถบสีหรือเส้นที่ได้จากการผ่านพลังงานรังสีเข้าไปใน สเปกโตรสโคป ซึ่งทำให้พลังงานรังสีแยกออกเป็นแถบ หรือเป็นเส้นที่มีความยาวคลื่นต่างๆ

คลื่น (wave) ความยาวคลื่น  องค์ประกอบของคลื่น 1. ความยาวคลื่น (  ) คือ ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ครบ 1 รอบพอดี หน่วยของความยาวคลื่นมีหน่วยเป็น เมตร(m) หรือ นาโนเมตร(nm) 2. ความถี่ ( = นิว) คือ จำนวนคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านจุดจุดหนึ่งในหนึ่งหน่วยเวลา (ใช้หน่วยเป็นวินาที) ซึ่งมีหน่วยเป็น รอบ/วินาที หรือ Hz (เฮิรตซ์)

จากการศึกษาเรื่องคลื่นจะได้ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นและความถี่ของคลื่นดังนี้   เขียนเป็นสมการได้ดังนี้  = เมื่อ  = ความถี่ C = ความเร็วแสงในสุญญากาศ = 3 x 108 m/s  = ความยาวคลื่น

มักซ์ คาร์ล แอนสต์ ลุดวิก พลังค์ Max Karl Ernst Ludwig Planck (1858 - 1947) German physicist

จากการศึกษาพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของ มักซ์ พลังค์ (Max Planck) ได้เสนอว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีสมบัติเป็นอนุภาคได้ และเรียกอนุภาคนั้นว่า “โฟตอน” แต่ละโฟตอนมีปริมาณของพลังงานเฉพาะ ขึ้นอยู่กับความถี่ของแสง สรุปว่า E   E = h E เป็นพลังงาน มีหน่วยเป็นจูล (J)  คือ ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีหน่วยเป็นรอบต่อวินาทีหรือเฮิรตซ์ (Hz) h คือ ค่าคงที่ของพลังค์ มีค่า 6.626 x 10-34 จูลวินาที (J.s)

 = E = h E = 6.626 x 10-34 J.s x 6.26 x 1014 s-1 E = 4.15 x 10-19 J ตัวอย่างคำนวณ จงหาความยาวคลื่นและพลังงานของคลื่นที่มีความถี่ 6.26 x 1014 Hz E = h E = 6.626 x 10-34 J.s x 6.26 x 1014 s-1 E = 4.15 x 10-19 J

แสงที่มองเห็นได้ (Visible light) สเปกตรัม (spectrum) สเปกตรัมแบบต่อเนื่อง แสงที่มองเห็นได้ (Visible light) ความยาวคลื่นในช่วง 400 – 700 นาโนเมตร สเปกตรัมเปล่งออกแบบเส้น สเปกตรัมดูดกลืนแบบเส้น

อุปกรณ์การทดลอง ผลการทดลอง

อิเล็กตรอนจะคายพลังงานออกมา ในรูปของพลังงานรังสี สรุปผลการทดลอง การเปล่งแสงของธาตุไฮโดรเจน เกิดจากอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานจากวงโคจรสูงไปสู่วงโคจรต่ำ พร้อมทั้งคายพลังงานในรูปแสงสีต่าง ๆ

สเปกตรัมแบบเส้น สเปกตรัมแบบเส้นของแก๊สบางชนิด โยฮันน์ บัลเมอร์ (Johann Balmer) พบสูตรที่ให้ตัวเลขสอดคล้องกับตำแหน่งของเส้นสเปกตรัมไฮโดรเจนในช่วงคลื่นแสงที่ตามองเห็น อนุกรมบัลเมอร์ (Balmer series)

อนุกรมไลแมน (Lyman’s series) อนุกรมบัลเมอร์ (Balmer series) n1= เลขจำนวนเต็ม แสดงระดับพลังงาน ในสถานะพื้นของอนุกรม อนุกรมพาสเชน (Paschen series) n2= เลขจำนวนเต็ม แสดงระดับพลังงาน ในสถานะกระตุ้นของ อนุกรม อนุกรมแบรคเก็ต (Brackett series) อนุกรมฟุนด์ (Pfund series)

การเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนที่สัมพันธ์กับสเปกตรัมไฮโดรเจนอนุกรมต่างๆ

ทฤษฎีอะตอมของโบร์ นีลส์ โบร์ (Niels Bohr) ได้เสนอทฤษฎีที่อธิบายสเปกตรัมแบบเส้นของอะตอมไฮโดรเจนได้สำเร็จ ซึ่งสมมติฐานเกี่ยวกับอะตอมไฮโดรเจนของโบร์อาจสรุปได้คือ อะตอมไฮโดรเจน 1. อิเล็กตรอนที่อยู่ในอะตอมใดๆ จะเคลื่อนที่ในตำแหน่งที่แน่นอนรอบนิวเคลียสเป็นวงโคจร ระยะระหว่างอิเล็กตรอนกับนิวเคลียสมีค่าคงที่

2. อิเล็กตรอนที่อยู่ในตำแหน่งคงที่ จะไม่แผ่รังสีพลังงานแต่ถ้าอิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากระดับพลังงานสูงมาสู่ตำแหน่งที่มีระดับพลังงานต่ำ จะแผ่รังสีพลังงานออกมา ซึ่งมีค่าเท่ากับผลต่างระหว่างระดับพลังงานทั้งสอง คือ 3. อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานหนึ่งๆ จะหมุนเป็นวงโคจรรอบนิวเคลียสคล้าย ระบบสุริยจักรวาล 4. อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานที่สูงกว่า จะอยู่ห่างจากนิวเคลียสมากกว่า อิเล็กตรอนที่มีระดับพลังงานต่ำ

  n เป็นเลขจำนวนเต็ม เรียกว่า เลขควอนตัมหลัก (principal quantum number) แบบจำลองอะตอมของโบร์ดังกล่าวยังสามารถใช้ได้ดีกับอะตอมที่คล้ายกับไฮโดรเจน เช่น He+ ,Li2+ หรือ Be3+ เป็นต้น

แบบจำลองอะตอมของ นิลส์ โบร์ “ อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน อยู่ภายในนิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอนวิ่งอยู่รอบ ๆ นิวเคลียสเป็นชั้น ๆ ในแต่ละชั้นมีระดับพลังงานเฉพาะค่าหนึ่ง ลักษณะคล้ายวงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ ซึ่งพลังงานระดับต่ำสุดจะอยู่ใกล้นิวเคลียสมากที่สุด และอิเล็กตรอนที่วงนอกสุดจะมีพลังงานมากที่สุด”

Hg* -> Hg + แสงสีเขียวอมฟ้า ประโยชน์ที่เราสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จากงานของโบร์           1. ธาตุทุกธาตุเมื่ออิเล็กตรอนถูกกระตุ้น จะเปล่งแสงออกมาได้เฉพาะตัว จึงมีประโยชน์อย่างมากในงานเคมีวิเคราะห์ เพื่อระบุว่าตัวอย่าง (sample) นั้นมีอะตอมของธาตุใดเป็นองค์ประกอบ           2.หลอดไฟ แสงจากหลอดไฟเกิดจากการระดมยิงอะตอมของธาตุเช่น ปรอท, โซเดียม ด้วยอิเล็กตรอน ดังสมการ Hg + พลังงาน -> Hg* Hg* -> Hg + แสงสีเขียวอมฟ้า

จุดอ่อนทฤษฎีของโบร์และการค้นคว้าหาทฤษฎีใหม่ ทฤษฎีของโบร์ใช้อธิบายได้กับสเปกตรัมของอะตอมหรือ ไอออนที่มีเพียง 1 อิเล็กตรอน เช่น H, He+, Li+ แต่ใช้อธิบายสเปกตรัม ทั่วไปที่มีหลายอิเล็กตรอนไม่ได้ นอกจากนั้นตามทฤษฎีของโบร์จะ อธิบายโครงสร้างของอะตอมในระดับสองมิติเท่านั้น นักวิทยาศาสตร์ จึงค้นคว้าทดลองหาข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้อธิบายโครงสร้างของอะตอม ให้ถูกต้องยิ่งขึ้น

แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก จากการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม จนได้ข้อมูลที่ทำให้เชื่อว่าอิเล็กตรอนไม่ได้เคลื่อนที่เป็นวงกลม แต่เคลื่อนที่เป็นรูปทรงต่างๆ ตามระดับพลังงานของอิเล็กตรอน และใช้ความรู้ทางกลศาสตร์ควอนตัม “อะตอมประกอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส บริเวณใดหนาทึบ แสดงว่ามีโอกาสพบอิเล็กตรอนได้มากกว่าบริเวณที่มีกลุ่มหมอกจาง”

กลศาสตร์คลื่น ผลงานของเดอบรอยและไฮเซนเบิร์กได้นำไปสู่แนวความคิด ของการสร้างทฤษฎีใหม่ขึ้นมาสำหรับอธิบายเกี่ยวกับอิเล็กตรอนใน อะตอมดังนี้ “สสารทุกชนิดไม่ว่าขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่มีสมบัติ เป็นทั้งคลื่นและอนุภาคอยู่ในตัวของมัน” อาศัยสมบัติความเป็นธรรมชาติคลื่นของอิเล็กตรอน จึงวิเคราะห์ หาสมบัติต่างๆของอิเล็กตรอนโดยการสร้างสมการคลื่น (wave equation) แล้วแก้สมการเพื่อหาค่าต่างๆ ออกมา

เนื่องจากอิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมาก สมบัติต่างๆของอิเล็กตรอนจะวัดได้ในระดับโอกาส หรือความน่าจะเป็น (probability) ที่จะพบอิเล็กตรอนที่บริเวณต่างๆ รอบนิวเคลียส หรือความหนาแน่นของอิเล็กตรอน (electron density) ที่บริเวณต่างๆรอบนิวเคลียส ตามสมการของเดอบรอย h = ค่าคงที่ของพลังค์ m = เป็นมวลของอนุภาค หน่วยเป็น kg V = ความเร็วแสง หน่วยเป็น m/s = ความยาวคลื่น หน่วยเป็น m

แอร์วิน รูดอร์ฟ โยเซฟ อเล็กซานเดอร์ ชเรอดิงเงอร์ Erwin Rudolf Josef Alexander Schrödinger (1887 – 1961) Austrian physicist

ชเรอดิงเจอร์ ได้เสนอกลศาสตร์คลื่อน และสร้างสมการคลื่น ชเรอดิงเจอร์ ได้เสนอกลศาสตร์คลื่อน และสร้างสมการคลื่น เพื่ออธิบายสมบัติต่างๆ ของอิเล็กตรอนเนื่องจากอิเล็กตรอนมี ขนาดเล็กมากยากที่จะวัดสมบัติต่างๆ ได้อย่างถูกต้องแน่นอน โดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆดังนี้ Hy = E y การแก้สมการคลื่น

** การพิจารณาสมบัติของอิเล็กตรอนจึงได้แค่ระดับของโอกาสหรือความน่าจะเป็นเท่านั้น ซึ่งคำนวณได้จากสมการคลื่น บริเวณหรือขอบเขตที่มีโอกาสพบอิเล็กตรอนนี้เรียกว่า “ออร์บิทัล (orbital)” การอธิบายพฤติกรรมของอิเล็กตรอนจึงเป็นที่ยอมรับและใช้เป็นพื้นฐาน ในการอธิบายเกี่ยวกับอะตอมและโมเลกุลตลอดมา ทำให้การอธิบายการเคลื่อนที่ ของอิเล็กตรอนในอะตอมแบบวงกลมหรือวงรีถูกหักร้างไป