Bus and Star Topologies Switch ขนาดเล็ก Switch ขนาดใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
Advertisements

เครือข่าย LAN แบบ IEEE 802 IEEE 802.X Network
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed การเชื่อมโยงเครือข่าย Making.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การเพิ่ม ลบ จำกัดสิทธิ์ User จัดทำโดย 1. นายธัชนนท์ ต๊ะต้องใจ 1-B เลขที่ 4 2. นาย ไพบูรณ์ อินทะซาว 1-B เลขที่ 23.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed เทคโนโลยี Internet Internet.
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
OSI 7 LAYER.
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
คำสั่ง : TIMER และ TIMH (FUN15)
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายแลน จัดทำโดย ด. ช. สิทธิชัย นินประพันธ์ เลขที่ 17 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 ครูผู้สอน อ. สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัด ลำพูน.
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
การสื่อสารข้อมูล.
EtherChannel.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
2.1 Spanning Tree Protocol
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
Material requirements planning (MRP) systems
แบบจำลองเครือข่าย (Network Models)
High Availability Network
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
Boson Netsim Simulator ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communications and Networking)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
Switched Communications Networks Stations Nodes ตัวอย่างที่ต้อง multiplex เช่น 3 และ 6 ส่งไป 5 พร้อมๆ กัน ทำให้ 5 ต้อง multiplex.
Basic Input Output System
ใน Word 5 วิธีใหม่ๆ ในการทำงาน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้จากทุกที่
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
SMS News Distribute Service
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 1 : การสร้างการเชื่อมต่อบนอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
เครือข่ายสารสนเทศ ครั้งที่ 2 แบบจำลองเครือข่าย
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
เงื่อนไขการสร้างเอกสารเลือกวันหยุด
การจัดบล๊อคและบัฟเฟอร์ (Blocking and Buffering)
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 3 : การตั้งค่าอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย วค101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Bus and Star Topologies

Switch ขนาดเล็ก Switch ขนาดใหญ่

IEEE 802

Sorting, Retransmit, Logical Link บนอินเทอร์เน็ต (Port) Routing (IP address) Logical Link บน LAN Destination in LAN

LAN Source LAN WAN Destination Logical Link ใน LLC layer Logical Link ใน LLC layer Logical Link ใน TCP layer

LLC Logical Link Control เป็น logical link เสมือนว่ามี direct อยู่ แต่ที่จริงไม่ใช่ มีหลายๆ เครื่องใช้สายร่วมกัน Characteristics ต้องมี MAC layer ช่วย เดี๋ยวไปเรียนเรื่อง MAC ในบทถัดไป น่าจะเป็น mode ปกติของ switch ทั่วๆ ไป Service 2 และ 3 มักจะไม่ได้ใช้ ปล่อยให้เป็นหน้าที่ของ TCP LLC เรียนแล้วในบทที่ 7 Data Link Control Protocols

จำเป็นต้องมี Flow Control แต่ Terminal เป็น HW/SW ง่ายๆ ไม่สามารถทำ Layers ที่สูงกว่านี้ได้ Transport layer เช่น TCP มากับ Operating Systems ซึ่งใช้ CPU และ RAM มาก

ข้ามไปก็ได้

HDLC High-Level Data Link Control (by ISO) PDU Protocol Data Unit DSAP Destination Service Access Point SSAP Source Service Access Point CRC Cyclic Redundancy Check

https://learningnetwork.cisco.com/thread/34298 อุปกรณ์ที่เกาะอยู่กับ switch สร้าง MAC header (รู้ Destination MAC address ได้ยังไง?) Access Points ของผู้รับและผู้ส่ง จำเป็นถ้าไม่มี TCP layer ข้างบน ช่วยแบ่ง port ให้ Flow & Error Control

Medium Access Control (MAC) Bus topology หรือ wireless เป็น shared medium Star topology ก็เป็น แต่ไม่มาก เฉพาะกรณีที่ผู้ส่ง 2 คนส่งให้ผู้รับคนเดียวกัน Medium Access Control (MAC)

ใช้ TDM แบ่ง time slot ให้เท่าๆ กัน ไม่ดี !!!

ปกติ Mac Address จะไม่ซ้ำ แต่ 2^24 = 16M จะพอใช้หรือไม่ Apple ขาย iPhone > 1 พันล้านเครื่อง ต้องได้ OUI มากกว่า 1 เบอร์ถึงจะพอ ในอนาคตต้อง recycle หรือไม่ ? มี 2^48 = 281 ล้านล้านเบอร์

https://github.com/PcapDotNet/Pcap.Net ไม่ได้ให้ทำเป็นโครงงาน เพราะปกติเราไม่เขียนโปรแกรมที่ layer นี้ ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มี Operating Systems ที่มี Transport Layer มาให้ด้วย มี TCP ดังนั้นสามารถเขียน socket programming ได้ง่าย นอกจาก capture packets ได้แล้ว ยังส่ง raw packets ได้ด้วย

Switch ขนาดใหญ่ มักจะทำหน้าที่เป็น Bridge ได้ด้วย (ดูหน้าถัดไป) Bridges Switch ขนาดใหญ่ มักจะทำหน้าที่เป็น Bridge ได้ด้วย (ดูหน้าถัดไป)

Stackable Switches

Bridge ต้องมี MAC layer เพื่อทำ medium access ทั้งสองฝั่ง Bridge Protocol Architecture Bridge ต้องมี MAC layer เพื่อทำ medium access ทั้งสองฝั่ง อาจจะเป็น wired / wireless ก็ได้

Fixed Routing Fixed routing กำหนดไว้ตายตัวในตาราง (ใน network controller) Src Des First bridge on the route Station 2 Station 5 Bridge 107 ... ทำ load balancing ได้ ใช้ตารางแบ่ง traffic เป็น 2 ส่วน ส่วนหนึ่งไปทาง Bridge 101 อีกส่วนหนึ่งไปทาง Bridge 107 แต่ fixed และไม่ response กับ failure เช่น ถ้า Bridge 107 เสีย ก็ไม่สามารถย้ายไปทาง Bridge 101 ได้

A B The Spanning Tree Approach Switch จะเรียนรู้จาก incoming frame เช่น มี frame จาก A เข้ามาที่ port x, switch ก็จะจำไว้ว่าต่อไปถ้าจะส่งไป A ต้องส่งออกไปทาง port 3 และตั้งค่า timer ไว้ด้วย (timer จะนับลง) ในครั้งต่อไป timer จะถูก reset (ตั้งให้มีค่า max) หรือถ้า expire (เวลาลดลงจนเป็น 0) ก็จะ forward ไปทุกทาง (learning process) เรียนรู้เองถ้ามีการย้ายตำแหน่งอุปกรณ์ * ปกติเป็นทั้ง Switch และ Bridge ในตัวเดียวกัน (ไม่ใช้ Hub แล้ว) แต่ละ port จะต่อกับ end devices หรือ switch ก็ได้ หรือแยก Trunk port ต่อกับ Switch End port ต่อกับ End device A B

จะไม่ยอมให้มี alternate route !!! The Spanning Tree Approach จะไม่ยอมให้มี alternate route !!! A 101 ลบเส้นประออก 1 เส้น จะได้ spanning tree 102 107 B C 103 104 105 106 D E F G ทำให้เป็น spanning tree (automatic, dynamic) Auto = ไม่ต้องใช้คน, Dyna = ทนต่อการเปลี่ยนแปลง ถ้า bridge เสีย ก็จะใช้เส้นทางอื่นอัตโนมัติ เพราะ dynamic อัลกอริทึมกำหนดโดย IEEE 802.1 อยู่ใน Appendix J

ปัจจุบันใช้ switch กันหมดแล้ว Hubs and Switches ลากสายน้อย ประหยัดสาย ในกรณีที่มีคอมพิวเตอร์จำนวนมาก ปัจจุบันใช้ switch กันหมดแล้ว N คือ จำนวนคู่ ถอดเปลี่ยน Bus, Hub, Switch ได้เลย โดยไม่ต้องปรับ software ในเครื่องคอมพิวเตอร์

Virtual LANs Unicast Address Broadcast Address เหมาะสำหรับ Network management Transmission of some type of alert

เพื่อให้ broadcast อยู่ในแต่ละส่วน แบ่ง LAN เป็น 4 ส่วน เพื่อให้ broadcast อยู่ในแต่ละส่วน Router ข้อเสียคือ พอเครือข่ายมันโตขึ้น เช่น มีแผนกเพิ่มขึ้น มีแผนกย่อยๆ ก็ต้องเพิ่ม router แต่ router ทำงานช้ากว่า switch และ traffic จริงอาจจะไม่สอดคล้องกับที่แบ่งไว้ เช่น ไม่เป็นไปตาม locality of reference traffic ส่วนใหญ่มักจะวิ่งผ่าน LAN (ผ่าน router)

Virtual LANs คือ การแบ่ง LAN เป็นกลุ่มย่อยๆ ด้วยซอฟต์แวร์ Defining VLANs Membership by port group ต้อง reconfigure ใหม่ เมื่อเปลี่ยนช่องเสียบ Membership by MAC address เมื่อเริ่มใช้งาน ต้องป้อนค่า MAC ของคอมพิวเตอร์ทั้งหมด (จำนวนมาก) ต้อง reconfigure ใหม่ เมื่อย้ายคอมพิวเตอร์ไปวงอื่น Membership based on protocol information ใช้ IP address แต่ต้องแอบอ่านเกิน MAC frame ทำให้ช้าลง พอรู้ IP จะรู้ว่าอยู่ในวง LAN ใด และ forward ไปได้ถูกทิศทาง เมื่อย้ายเครื่องคอมพิวเตอร์ไปวงอื่นๆ ไม่ต้องทำอะไร เพราะใช้ IP เดิม ใช้ switch แบบที่ support VLANs