อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network management system)
Advertisements

Week 1: Introduction Review 1: Data Communications
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
องค์ประกอบและรูปแบบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของการสื่อสาร
Local Area Network Ethernet/Token Ring/FDDI/Wireless
Network Model แบบจำลอง OSI
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
โปรโตคอลของระบบเครือข่าย INTERNET และ Wireless LAN
เครือข่าย LAN แบบ IEEE 802 IEEE 802.X Network
MAC Address. Short for Media Access Control address, a hardware address that uniquely identifies each node of a network. In IEEE 802 networks, the Data.
นายพีระภานุพันธ์ แจ้งอนันต์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่ 7 Local Area Network
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
Data Communication and Network
Chapter 8 Network Topology , Lan and WanTechnology
Introduction to Network
บทที่ 9 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สิ่งที่สำคัญในระบบปฏิบัติการของเราในวันนี้คงหนีไม่พ้นในเรื่องของ เครือข่าย หรือ Network network คืออะไร เครือข่ายมีไว้เพื่อสื่อ สารกันระหว่างคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 Networks and Data Communications
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ต. LAN Overview LANs were created to save time, money, and enable users to share information and resources more easily.
Week 2: Review 2: Ethernet Technologies
1 LAN Implementation Sanchai Yeewiyom School of Information & Communication Technology Naresuan University, Phayao Campus.
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed การเชื่อมโยงเครือข่าย Making.
OSI 7 LAYER.
EtherChannel.
© 2006 Cisco Systems, Inc. All rights reserved.Cisco PublicITE I Chapter 6 1 CCNA Cisco Certified Network Associate.
หนังสือคู่มือของบริษัท เพิ่มสัญลักษณ์ของบริษัทที่นี่ เพื่อที่จะแทรกสัญลักษณ์ ของบริษัท ลงบน ภาพนิ่งนี้ จากเมนู ‘ แทรก ’ ให้เลือก ‘ รูปภาพ ’ ระบุตำแหน่งแฟ้ม.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 3 ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ Computer Network System.
การสื่อสารข้อมูล.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Chapter 3 – Medium Access Control
Wireless Network เครือข่ายไร้สาย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 โลกของเครือข่าย.
Chapter 2 – Wireless Transmission
แบบจำลองเครือข่าย (Network Models)
Week 2: Review Part II LAN Technologies
บทที่ 3 อุปกรณ์ต่างๆ ในเครือข่ายและรูปแบบการเชื่อมต่อระบบ
รหัสบ่งชี้โดยใช้ความถี่ของคลื่นวิทยุ
Computer Network.
ความรู้พื้นฐานกล้องไอพี
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
พื้นฐานการอินเตอร์เฟส
LAB03 : BASIC NETWORK DESIGN
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
การติดต่อสื่อสารของคอมพิวเตอร์
Bus and Star Topologies Switch ขนาดเล็ก Switch ขนาดใหญ่
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
การติดต่อสื่อสารของคอมพิวเตอร์
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น
เครือข่ายสารสนเทศ ครั้งที่ 1
บทที่ 7 เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น (LAN)
การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขั้นสูง
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : การรักษาความปลอดภัยข้อมูล Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
วิชา วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
Chapter 02 – Wireless Transmission
Chapter 3 – Medium Access Control
บทที่ 2 ระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline โครงการหมายเลข 802 วิธีควบคุมเพื่อเข้าถึงสื่อกลาง (Medium Access Control) การ์ดเครือข่ายและแมคแอดเดรส การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์

โครงการหมายเลข 802 โครงการหมายเลข 802 เริ่มก่อตั้งในปี 1985 โดย IEEE โดยจัดตั้งขึ้นเพื่อกำหนดหน้าที่และรายละเอียด ของชั้นสื่อสารฟิสิคัล และดาต้าลิงก์ เพื่อนำมาใช้กับ เครือข่ายท้องถิ่นเป็นสำคัญ IEEE ได้แบ่งส่วนชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ออกเป็น 2 ชั้น ย่อย ประกอบไปด้วย Logical Link Control (LLC) รับผิดชอบลอจิคัลแอดเดรส และการควบคุมข้อผิดพลาด Media Access Control (MAC) ใช้กำหนดรูปแบบของ เฟรมในโปรโตคอลแต่ละชนิด สร้างมาตรฐานชั้นสื่อสารฟิสิคัลที่หลากหลายมากขึ้น เพื่อนำไปใช้กับเครือข่ายแลนชนิดต่างๆ มีโครงการย่อยเยอะมาก ใช้จุดทศนิยมในการแบ่ง เช่น 802.11 เป็นมาตรฐานเครือข่ายไร้สาย เป็นต้น

มาตรฐาน IEEE ที่นำมาใช้กับ LANs

วิธีควบคุมเพื่อเข้าถึงสื่อกลาง (Medium Access Control) ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน จำเป็นต้อง มีวิธีการควบคุมและติดตามเพื่อให้อุปกรณ์ต่างๆบน เครือข่ายสามารถใช้อุปกรณ์ได้ทั่วถึง มีวิธีการ ควบคุมการเข้าถึงสื่อกลาง 2 วิธี คือ CSMA/CD ใช้ในอีเทอร์เน็ต Token Passing ใช้ใน Token Bus, Token Ring และ FDDI

Medium Access Control (MAC) CSMA/CD Ethernet Token Passing Token Bus Token Ring FDDI

วิธีควบคุมเพื่อเข้าถึงสื่อกลาง : CSMA/CD CSMA/CD (Carrier Sense, Multiple Access/Collision Detection) เป็นกลไกในการ จัดการการส่งข้อมูลบนสายส่ง โดยในช่วงเวลา หนึ่งๆจะมีข้อมูลเพียงชุดเดียวเท่านั้นที่สามารถ ส่งผ่านสื่อกลางไปยังปลายทางได้ ประกอบไปด้วย กระบวนการ 3 กระบวนการ ดังนี้ การตรวจฟังสัญญาณ (Carrier Sense) ตรวจฟังว่า ขณะนั้นสายว่างหรือถูกใช้งานอยู่ การใช้สายส่งข้อมูลร่วมกัน (Multiple Access) เป็น กลไกที่อนุญาตให้โหนดสามารถส่งข้อมูลได้ทันทีหาก สายในขณะนั้นว่าง โดยไม่มีการให้อภิสิทธิ์กับโหนดใด เป็นพิเศษ การตรวจสอบการชนกันของข้อมูล (Collision Detection) หากตรวจพบว่ามีการชนกันของข้อมูล เกิดขึ้น แต่ละโหนดจะหยุดส่งข้อมูลทันที แล้วรอชั่วครู่ เพื่อสุ่มเวลาส่งแต่ละโหนดให้แตกต่างกัน แล้วจึงส่ง ข้อมูลใหม่

CSMA/CD Animation https://www.youtube.com/watch?v=nyYr3cR5BTw

การ์ดเครือข่ายและแมคแอดเดรส (Network Interface Card : NIC & MAC Address) การ์ดเครือข่ายเป็นส่วนสำคัญในเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นส่วนสำคัญในการส่งแพ็คเก็ตผ่านสื่อกลาง การ์ดเครือข่ายจะมีหมายเลขแม็คแอดเดรสที่ใช้อ้างอิง ตำแหน่งเพื่อรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย โดยแม็คแอดเดรส จะถูกบรรจุไว้ในรอมมาจากโรงงาน แม็คแอดเดรสจะประกอบด้วยเลขฐานสองขนาด 48 บิต แต่นิยมเขียนในรูปเลขฐาน 16 เช่น 00-E0- 98-01-09-0E การ์ดเครือข่ายแต่ละตัวจะมีแม็คแอดเดรสที่ไม่ซ้ำกันเลย (แม็คแอดเดรสที่ใช้ได้ทั้งหมดมีประมาณ 281 ล้านล้าน เลขหมาย) ผู้ผลิตการ์ดเครือข่ายจะต้องทำการจองค่าแม็คแอดเดรส กับทาง IEEE ก่อนที่จะทำการผลิต

Network Interface Card

MAC Address กับ IP Address มีวัตถุประสงค์ การใช้งานต่างกัน โดย MAC Address เป็น หมายเลขประจำตัวบนการ์ดเครือข่าย (Physical Address) ส่วน IP Address เป็นหมายเลข ประจำตัวคอมพิวเตอร์ (Logical Address) ที่ใช้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

การ์ดเครือข่ายและแมคแอดเดรส (Network Interface Card : NIC & MAC Address) [2] เมื่อมีการส่งแพ็คเก็ตเกิดขึ้น จะมีการระบุแม็ค แอดเดรสต้นทางและปลายทางไปบนแพ็คเก็ตด้วย เมื่อคอมพิวเตอร์ใดๆได้รับแพ็คเก็ตที่ส่งมาบนสาย ก็จะมีการตรวจสอบแม็คแอดเดรสปลายทางว่าตรง กับตนเองหรือไม่ หากไม่ตรงก็จะละทิ้งไป แต่หาก ตรงกับแม็คแอดเดรสของตน ก็จะทำการคัดลอก แพ็คเก็ตชุดนั้นเอาไว้

การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์ (Baseband and Broadband) เป็นมาตรฐานภายใต้โครงการ IEEE 802.3 ซึ่งเป็น เทคนิคในการส่งข้อมูลแบบใช้สาย IEEE 802.3 Baseband Digital (Manchester) 10Base5, 10Base2, 10Base-T, 1Base5, 100Base-T Broadband Analog (PSK)

การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์ : Baseband Base ในที่นี้หมายถึงสัญญาณดิจิตอล เบสแบนด์มี การเข้ารหัสแบบแมนเชสเตอร์ (Manchester Encoding) มีการแบ่งการส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์ออกเป็น ประเภทต่างๆตามมาตรฐานดังนี้ 10Base5, 10Base2, 10Base-T, 1Base5 และ 100Base-T โดยตัวเลขข้างหน้าคืออัตราความเร็ว หน่วยเป็น Mbps ส่วนเลขท้ายเป็นความยาวสูงสุดของเคเบิล หรือชนิดของเคเบิล [รายละเอียดจะเรียนในคาบ ถัดไป]

การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์ : Baseband [2] เบสแบนด์จะใช้ช่องทางการสื่อสารเพียงช่องทาง เดียวบนสายเคเบิลเดียวกัน ในเวลาที่ ต่างกัน ตามหลักการมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลา (TDM) เครือข่ายท้องถิ่น (LAN) ส่วนใหญ่มักใช้วิธีการส่ง สัญญาณแบบเบสแบนด์มากกว่าบรอดแบนด์ เพราะ มีความยุ่งยากซับซ้อนน้อยกว่า ใช้เทคนิค CSMA/CD ในการควบคุมการเข้าถึง สื่อกลาง

การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์ : Broadband คำว่า Broad แปลว่ากว้าง หมายถึงการส่งข้อมูล ด้วยสัญญาณอะนาล็อกหลายแชนแนล เข้ารหัส โดยวิธี PSK (Phase-Shift Keying) บรอดแบนด์จะเป็นการส่งข้อมูลหลายช่องทางบน สายส่งเส้นเดียว โดยแต่ละช่องทางจะส่งในย่าน ความถี่แตกต่างกัน เป็นไปตามหลักการมัลติเพล็กซ์ แบบแบ่งความถี่ (FDM) นิยมใช้ในการเชื่อมต่อแบบ WAN เพราะสามารถ ส่งข้อมูลได้พร้อม ๆ กันจากอุปกรณ์หลาย ๆ เครื่อง

การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์

การใช้การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์ร่วมกัน