กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
Advertisements

สารอินทรีย์และการเรียกชื่อ
สัปดาห์ที่ ๑๔ เคมีอินทรีย์ Organic Chemistry.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 12: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
Entity-Relationship Model E-R Model
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การทำ Normalization 14/11/61.
อีเทอร์และอีพอกไซด์ Ether and Epoxide
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
การจำแนกสารอินทรีย์ ฟังก์ชั่นของสารอินทรีย์
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ผู้สอน ครูวัฒนา พุ่มมะลิ (ครูเจ๋ง)
BC320 Introduction to Computer Programming
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
แบบฝึกหัดที่ 3 ไฮโดรคาร์บอน
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
องค์ประกอบพื้นฐานหรือหน่วยย่อย (monomer) ของโปรตีน
ปิโตรเลียม.
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) บทที่ 10 สารชีวโมเลกุล (Biomolecules)
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง
เทคนิคเกษตรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
Alkyne และ Cycloalkyne
Chemistry Introduction
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
Ernest Rutherford.
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
พลังงานในสิ่งมีชีวิต
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
หมู่ฟังก์ชัน.
General Chemistry Quiz 9 Chem Rxn I.
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทสรุป ความหมายของ Query ความหมายของ Query
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Tree.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) และ อนุพันธ์กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid derivative)

กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) เป็นสารอินทรีย์มีสูตรทั่วไปเป็น R–COOH หมู่ฟังก์ชัน ได้แก่ หมู่คาร์บอกซิล (carboxyl group) แสดงดังโครงสร้าง ซึ่งประกอบด้วยหมู่คาร์บอนิล และหมู่ไฮดรอกซิล อยู่ที่อะตอมคาร์บอน เดียวกัน

กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) ตัวอย่างกรดคาร์บอกซิลิกมีดังนี้ methanoic acid ethanoic acid butanoic acid benzoic acid

กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิก 1.1 ชื่อสามัญ กรดคาร์บอกซิลิกที่มีจำนวนคาร์บอนอะตอมไม่มากนักและพบทั่วไปในธรรมชาติ นิยมเรียกด้วยชื่อสามัญ เช่น กรดฟอร์มิก (formic acid) HCOOH กรดอะซิติก (acetic acid) CH3COOH กรดโพรพิโอนิก (propionic acid) CH3CH2COOH กรดบิวทีริก (butyric acid) CH3CH2CH2COOH

กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิก 1.2 ชื่อ IUPAC ระบบการเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิกโดย International Union of Pure and Applied Chemistry (IUPAC) นิยมเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิกที่มีจำนวนคาร์บอนอะตอมสูงขึ้น

กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) การเรียกชื่อ IUPAC ของกรดคาร์บอกซิลิก 1.2 ชื่อ IUPAC ถ้าโครงสร้างโซ่หลักประกอบด้วย 6 คาร์บอนอะตอม ดังรูป - ถ้าสารประกอบอัลเคนที่มี 4 คาร์บอนอะตอม อ่านชื่อ IUPAC คือ butane ดังนั้นชื่อกรดคาร์บอกซิลิกที่โครงสร้างโซ่หลักประกอบด้วย 4 คาร์บอนอะตอมเหมือนกัน ให้ตัด –e ทิ้ง (butane เป็น butan…) เติม –oic acid ดังนั้นโครงสร้างกรดคาร์บอกซิลิกมีชื่อ IUPAC ว่า butanoic acid

ตารางที่ 1 ชื่อสามัญและชื่อ IUPAC ของกรดคาร์บอกซิลิก

กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) การเรียกชื่อ IUPAC ของกรดคาร์บอกซิลิก 1.2 ชื่อ IUPAC ในกรณีที่มีหมู่แทนที่อยู่ในโมเลกุล การกำหนดตำแหน่งอะตอมคาร์บอนให้เริ่มจากอะตอมคาร์บอกซิล (COOH) คาร์บอนให้เป็นตำแหน่งที่ 1 เสมอและเรียงถัดไปตามลำดับดังนี้

กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) การเรียกชื่อ IUPAC ของกรดคาร์บอกซิลิก 1.2 ชื่อ IUPAC ตัวอย่างการเรียกชื่อ IUPAC ของกรดคาร์บอกซิลิกที่มีหมู่แทนที่ตำแหน่งต่าง ๆ 4 – hydroxybutanoic acid 3 - phenyl pentanoic acid (หมู่แทนที่ Ph เรียกชื่อว่า หมู่ phenyl)

การเรียกชื่อ IUPAC ของกรดคาร์บอกซิลิก 1.2 ชื่อ IUPAC การเรียกชื่อ IUPAC ของกรดอะโรเมติก (aromatic carboxylic acid) ที่มีหมู่แทนที่ ให้เรียกชื่อโดยถือว่าเป็นอนุพันธ์ของกรดเบนโซอิก โดยบอกตำแหน่งของหมู่แทนที่ด้วยตัวเลขที่น้อยที่สุด ดังตัวอย่าง benzoic acid 4 – aminobenzoic acid 2 – hydroxybenzoic acid (หมู่แทนที่ NH2 เรียกชื่อว่า หมู่ amino)

2. สมบัติทางกายภาพของกรดคาร์บอกซิลิก จุดเดือด RCOOH > ROH > แอลดีไฮด์ (RCHO) หรือคีโตน (RCOR) เมื่อมีมวลโมเลกุลเท่ากันหรือใกล้เคียง ผลจากการเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่าง 2 โมเลกุลของกรดคาร์บอกซิลิก (hydrogen–bonded dimer) เกิดเป็นไดเมอร์ที่มีเสถียรภาพสูง เพราะมีแรงยึดเหนี่ยวด้วยพันธะไฮโดรเจนถึง 2 พันธะ

2. สมบัติทางกายภาพของกรดคาร์บอกซิลิก การละลายน้ำ - กรดคาร์บอกซิลิกสามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้ำได้ ดังโครงสร้าง - ถ้าจำนวนคาร์บอนอะตอมของกรดคาร์บอกซิลิกไม่เกิน 4 คาร์บอนอะตอมจะละลายน้ำได้ดี ถ้ามากกว่านั้นการละลายน้ำจะลดลง - กรดคาร์บอกซิลิกละลายได้ในแอลกอฮอล์ (เกิดพันธะไฮโดรเจน) และสามารถละลายในตัวทำละลายไม่มีขั้วได้ เช่น คลอโรฟอร์ม (CHCl3)

สมบัติทางกายภาพของกรดคาร์บอกซิลิก

3. การสังเคราะห์กรดคาร์บอกซิลิก ปฏิกิริยาออกซิเดชันของแอลกอฮอล์ปฐมภูมิ ปฏิกิริยาออกซิเดชันของแอลดีไฮด์ Na2Cr2O7 = Sodiumdichromate, H2SO4 = sulfuric acid

4. ปฏิกิริยาสำคัญของกรดคาร์บอกซิลิก ปฏิกิริยาการเกิดเกลือ acetic acid sodium hydroxide sodium acetate water ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอสเทอร์ acetic acid ethanol ethyl acetate (ชื่อสามัญ) ethyl ethanoate (IUPAC)

อนุพันธ์กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid derivatives) อนุพันธ์กรดคาร์บอกซิลิก มีหลายชนิดได้แก่ เอซิดเฮไลด์หรือเอซิลเฮไลด์ (acid halide หรือ acyl halide ) เอซิดแอนไฮไดรด์ (acid anhydride) เอสเทอร์ (ester) อะไมด์ (amide)

อนุพันธ์กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid derivatives) อนุพันธ์กรดคาร์บอกซิลิก มีหลายชนิดได้แก่ เอซิดเฮไลด์หรือเอซิลเฮไลด์ (acid halide หรือ acyl halide ) สูตรทั่วไป ตัวอย่าง Acid halide Acid chloride Acetyl chloride (ชื่อสามัญ) Propionyl chloride (ชื่อสามัญ)

อนุพันธ์กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid derivatives) อนุพันธ์กรดคาร์บอกซิลิก มีหลายชนิดได้แก่ 2. เอซิดแอนไฮไดรด์ (acid anhydride) สูตรทั่วไป ตัวอย่าง Acetic anhydride (ชื่อสามัญ)

อนุพันธ์กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid derivatives) อนุพันธ์กรดคาร์บอกซิลิก มีหลายชนิดได้แก่ 3. เอสเทอร์ (ester) สูตรทั่วไป ตัวอย่าง methyl propionate (ชื่อสามัญ) methyl propanoate (IUPAC)

อนุพันธ์กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid derivatives) อนุพันธ์กรดคาร์บอกซิลิก มีหลายชนิดได้แก่ 4. อะไมด์ (amide) สูตรทั่วไป ตัวอย่าง butyramide (ชื่อสามัญ) butanamide (IUPAC)

ปฏิกิริยาสำคัญของอนุพันธ์กรดคาร์บอกซิลิก ได้แก่ ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสหรือปฏิกิริยาการแยกสลายด้วยน้ำของอนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิกจะได้ผลผลิตคือ กรดคาร์บอกซิลิก