บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การแสดงผล และการรับข้อมูล
Advertisements

ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
Solution Explorer Properties Window Tool Box.
Operator of String Data Type
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
บทที่ 4 คำสั่งควบคุม โปรแกรม. คำสั่งควบคุมโปรแกรมออกได้เป็น 2 ประเภท คือ คำสั่งแบบกำหนดเงื่อนไข (Conditional Statement) คำสั่งแบบทำงานซ้ำ (Repetitive.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
Microsof t Office Word เตรียมความ พร้อม Microsoft Office Word 2007 แดงเขียวน้ำเงิน ม่วงดำเขียว เหลืองส้มน้ำตาล น้ำเงินดำแดง.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
เกม คณิตคิดเร็ว.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
คณาจารย์ หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์คณะวิทยาการสารสนเทศ
C Programming By Mr. Sanae Sukprung.
โปรแกรมย่อย อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
แนวข้อสอบ Final (จดด่วน)
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 6 โครงสร้างและไวยากรณ์ภาษาซี
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
บทที่ 10 อาร์เรย์ (Array)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างภาษา C Arduino
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Basic Input Output System
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Week 5 C Programming.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
พอยเตอร์ #include <stdio.h> void main() { int age; int *pointer;
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต รายวิชา สธ 113 การออกแบบโปรแกรมทาง ธุรกิจเบื้องต้น อ.อภิพงศ์ ปิงยศ

Overview คำสั่งในการรับและแสดงผล การแสดงผลออกทางหน้าจอด้วย printf รหัสรูปแบบและรหัสควบคุมการแสดงผลใน ภาษาซี การแสดงผลออกทางหน้าจอด้วย putchar และ puts การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดด้วย scanf การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดด้วย getchar, getch และ gets

คำสั่งในการรับและแสดงผลข้อมูล ในภาษา C การรับและการแสดงผลข้อมูลจะ อาศัยการเรียกใช้ฟังก์ชันมาทำงาน ฟังก์ชันมาตรฐาน ได้แก่ฟังก์ชัน printf(), scanf() etc. ฟังก์ชันที่เก็บไว้ใน I/O library ได้แก่ putchar(), puts(), getchar( ), getch( ), gets( ) etc. โดยเวลาเรียกใช้ฟังก์ชันเหล่านี้จะต้องบอก ให้ C compiler รับรู้ โดยใช้คำสั่ง #include เฮดเดอร์ไฟล์ชื่อ stdio.h เข้ามาก่อน

การแสดงผลออกทางหน้าจอด้วย printf( ) รูปแบบคำสั่ง: control คือส่วนที่ใช้ควบคุมการแสดงผลใน 3 รูปแบบ ได้แก่ ข้อความธรรมดา รหัสควบคุมรูปแบบ(Place Holder or Format code) เช่น %d, %f อักขระควบคุมการแสดงผล (\n, \t) โดยส่วนเหล่านี้จะต้องเขียนไว้ภายใน เครื่องหมาย “ …” (Double quote) printf(“control”, value);

การแสดงผลออกทางหน้าจอด้วย printf( ) [cont.] printf(“control”, value); value คือ ค่าของตัวแปร นิพจน์ หรือสิ่ง ที่ต้องการจะแสดงผล ตัวอย่างการใช้เช่น printf(“Hello World.\n”); printf(“Sum = %d”, a + b); printf(“Sum is %d = %d + %d”, a + b,a,b);

รหัสรูปแบบในภาษา C (Place Holder & Format Code) ใช้เพื่อควบคุมการแสดงผลตัวแปร นิพจน์ออก ทางหน้าจอ โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับทั้ง ชนิดและค่าของข้อมูลที่ต้องการจะแสดงออก รหัสรูปแบบ การนำไปใช้ %d สำหรับแสดงผลเลขจำนวนเต็ม (int, short, unsigned short, long, unsigned long) %u สำหรับแสดงผลเลขจำนวนเต็มบวก (unsigned short, unsigned long) %o สำหรับแสดงผลออกมาในแบบเลขฐานแปด %x สำหรับแสดงผลออกมาในแบบเลขฐานสิบหก %f สำหรับแสดงผลเลขทศนิยม (float, double, long double) %e สำหรับแสดงผลตัวเลขทศนิยมออกมาในแบบของ e หรือ ยกกำลัง (float, double, long double) %c สำหรับแสดงผลอักขระ 1 ตัว (char) %s สำหรับแสดงผลข้อความ หรือ อักขระมากกว่า 1 ตัว (string) %p สำหรับแสดงผลตัวชี้ตำแหน่ง(pointer)

รหัสรูปแบบในภาษา C (Place Holder & Format Code) [cont.] การแสดงผลในรูปแบบตัวเลขทศนิยม เรา สามารถกำหนดจำนวนหลักหลังจุดทศนิยมได้ โดยใช้รูปแบบ เช่น %.nf คือการแสดงผลออกมาเป็นทศนิยมที่มี ตัวเลขหลังจุด n ตัว เช่น %.3f จะแสดงตัวเลข หลังจุดทศนิยม 3 หลัก อย่างเช่น 12.345 %.ne คือการแสดงผลออกมาในรูปทศนิยมเลข ยกกำลังในรูป e และมีตัวเลขหลังจุดทศนิยม n ตัว เช่น %.3e จะแสดงตัวเลขหลังจุดทศนิยม 3 หลัก อย่างเช่น 1.256e + 02

อักขระควบคุมการแสดงผล ช่วยในการจัดข้อความที่จะแสดงให้เป็นระเบียบ โดยต้องใส่ไว้ภายในเครื่องหมาย “…” มี ดังต่อไปนี้ อักขระควบคุมการแสดงผล ความหมาย \n ขึ้นบรรทัดใหม่ \t เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 tab (6 ตัวอักษร) \r กำหนดให้ cursor ไปอยู่ที่ต้นบรรทัด \f เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 หน้าจอ \b ลบอักขระตัวสุดท้ายออก

การแสดงผลออกทางหน้าจอด้วย putchar( ) ในภาษา C นอกเหนือจากการเรียกฟังก์ชัน printf( ) พร้อมกับกำหนดรหัสรูปแบบ %c เพื่อใช้สำหรับการ แสดงผลอักขระออกทางหน้าจอแล้ว เรายังมีฟังก์ชันที่ ใช้สำหรับแสดงผลอักขระโดยเฉพาะ ได้แก่ฟังก์ชัน putchar( ) รูปแบบคำสั่ง: char เป็นตัวแปรชนิด char หรืออักขระ 1 อักขระ ที่เขียนภายในเครื่องหมาย ‘…’ putchar(char); ฟังก์ชัน putchar() ใช้สำหรับการแสดงผลอักขระ 1 อักขระ ออกทางหน้าจอภาพ

การแสดงผลออกทางหน้าจอด้วย putchar( ) [cont.] #include <stdio.h> int main() { char first = 'O'; putchar(first); putchar('k'); return 0; }

การแสดงผลออกเป็นข้อความด้วย puts( ) รูปแบบคำสั่ง: str คือ ตัวแปรที่เก็บข้อมูลชนิดข้อความ หรือ ข้อความที่เขียนอยู่ภายในเครื่องหมาย “…” เช่น puts(“easy & fun”); puts(str);

การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดด้วย scanf( ) รูปแบบคำสั่ง: format เป็นการใช้ format code หรือ place holder เพื่อกำหนดชนิดข้อมูลที่จะรับเข้ามา โดย ชนิดของรหัสรูปแบบควรตรงกับชนิดของข้อมูลที่จะ รับเข้ามา (&variable) variable คือ ตัวแปรที่ใช้เก็บค่าข้อมูลที่จะรับเข้ามา โดยต้องมีเครื่องหมาย & หน้าชื่อตัวแปร ยกเว้นตัว แปรที่เก็บข้อมูลชนิดข้อความ (string) ที่สามารถใส่ ชื่อตัวแปรได้โดยไม่ต้องมีเครื่องหมาย & นำหน้า scanf(“format”, &variable);

การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดด้วย scanf( ) [cont.] ในการรับหรือแสดงข้อมูลมากกว่าหนึ่งตัว เรา สามารถใส่รหัสรูปแบบติดกันได้ เช่น %c%c%c โดยไม่ต้องเว้นช่องว่าง เพราะตัว แปลภาษาสามารถแยกแยะข้อมูลได้อยู่แล้ว หรือ จะมีอะไรมาแสดงคั่นก็ได้ เช่น %s/%s/%s ตัวอย่างการใช้เช่น #include <stdio.h> int main( ) { char ch1, ch2, ch3; printf("Enter three characters: "); scanf("%c%c%c", &ch1, &ch2, &ch3); printf("The characters are %c, %c, and %c\n",ch1,ch2,ch3); return 0; }

การรับข้อมูลทีละอักขระด้วย getchar( ) รูปแบบคำสั่ง: variable คือชื่อตัวแปรชนิดอักขระ ที่จะใช้เก็บ ค่าของอักขระที่รับเข้ามาจากทางคีย์บอร์ด ตัวอย่างการใช้เช่น variable = getchar(); #include <stdio.h> int main( ) { char c; printf("Enter a letter: "); c = getchar(); printf("You entered: %c", c); return 0; }

การรับข้อมูลทีละอักขระด้วย _getch( ) ฟังก์ชัน _getch() ใช้รับอักขระจากคีย์บอร์ด ได้ ครั้งละหนึ่งอักขระ เช่นเดียวกับฟังก์ชัน getchar() แต่จะแตกต่างกันตรงที่การรับข้อมูลด้วย ฟังก์ชัน _getch() เมื่อผู้ใช้กรอกข้อมูลเข้ามา 1 อักขระแล้ว โปรแกรมจะทำงานต่อทันทีโดย ไม่ต้องกดปุ่ม Enter และอักขระที่กรอกจะไม่แสดง ขึ้นมาให้เห็นบนหน้าจอ รูปแบบคำสั่ง: ฟังก์ชัน getch() จำเป็นต้องทำการ #include <conio.h> variable = _getch();

การรับข้อมูลเป็นข้อความด้วย gets( ) รูปแบบคำสั่ง: str คือ ตัวแปรที่จะใช้เก็บข้อความ ซึ่งเราต้อง สร้างเตรียมไว้ก่อนที่จะเรียกฟังก์ชัน gets( ) ตัวอย่างการใช้เช่น gets(str); #include<stdio.h> int main( ) { char message[30]; printf("Enter a message: "); gets(message); printf("Your message is %s", message); return 0; }