แบบจำลองเครือข่าย (Network Models)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
Advertisements

TCP/IP.
Network Model แบบจำลอง OSI
Network Model แบบจำลอง OSI
Ministry of Information and Communication Technology
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ภัยคุกคามด้านความปลอดภัย
เครือข่าย LAN แบบ IEEE 802 IEEE 802.X Network
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Transport Layer.
File Transfer (FTP), WWW, HTTP, DHCP.
Network Layer Protocal:
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
MAC Address. Short for Media Access Control address, a hardware address that uniquely identifies each node of a network. In IEEE 802 networks, the Data.
Data Communication Chapter 2 OSI Model.
ICT+ Introduction to Networks ดร. สุรศักดิ์ มังสิงห์
OSI MODEL.
TCP/IP.
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
Week 5: Chapter 23: Support Protocols
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
05/04/60 3 Copyrights by Ranet Co.,Ltd. All rights reserved.
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
Introduction to Server Services
Network Computer Made by Godsaider. สถาปัตยกรรมเครือข่าย มนุษย์ติดต่อสื่อสารกันได้นั้นเพราะใช้ภาษา เดียวกันในการติดต่อพูดคุยแต่ถ้าพูดกันคนละภาษาก็จะ ทำให้การติดต่อสื่อสารไม่ได้ประสิทธิภาพหรือไม่เข้าใจ.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ต. LAN Overview LANs were created to save time, money, and enable users to share information and resources more easily.
OSI Model Open System Interconnection. Open Systems Interconnection (OSI) จัดตั้งและกำหนดโดย องค์การกำหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ( International Standards.
แบบจำลอง OSI Model.
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed การเชื่อมโยงเครือข่าย Making.
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed เทคโนโลยี Internet Internet.
โปรโตคอล Protocol คือข้อกำหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น.
OSI 7 LAYER.
Chapter 2: Network Models. OSI model and TCP/IP protocol 1960 (ARPA in DOD) 1972 (draft) 1973 (release TCP/IP)1984 (release OSI) 1970 (ISO, CCITT) 1983.
C# Communication us/library/system.net.sockets.tcplistener(v=vs. 110).aspx 1.
© 2006 Cisco Systems, Inc. All rights reserved.Cisco PublicITE I Chapter 6 1 CCNA Cisco Certified Network Associate.
OSI Network Layer TCP/IP Internet Layer วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
การสื่อสารข้อมูล.
2.1 Spanning Tree Protocol
Security in Computer Systems and Networks
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
1-2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ 1.
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Mobile Network/Transport Layers
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 โพรโตคอล ทีซีพีและไอพี TCP / IP
บทที่ 8 เครือข่ายการสื่อสารทางไกลระหว่างประเทศ
Firewall อาจารย์ ธนัญชัย ตรีภาค ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
Wireless Network เครือข่ายไร้สาย
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
Chapter 2 สถาปัตยกรรมเครือข่าย (Network Architecture)
Intrusion Detection / Intrusion Prevention System
ปัญหาความปลอดภัยในระบบเครือข่าย
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต Internet Technology
TCP/IP Protocol นำเสนอโดย นส.จารุณี จีนชาวนา
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
LAB03 : BASIC NETWORK DESIGN
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
Bus and Star Topologies Switch ขนาดเล็ก Switch ขนาดใหญ่
คำสั่งและโปรแกรม เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
ARP Spoof โดยอาจารย์ธวัชชัย ชมศิริ อาจารย์สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
ระบบสารสนเทศ (Information System)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
เครือข่ายสารสนเทศ ครั้งที่ 1
การออกแบบระบบ System Design.
The Need for a Protocol Architecture (for example, see circuit / packet switching) ผู้รับต้องจัดเตรียมที่เก็บข้อมูล (memory) ยืนยันสิทธิใช้ hard disk.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
เครือข่ายสารสนเทศ ครั้งที่ 2 แบบจำลองเครือข่าย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ chane54@gmail.com

วัตถุประสงค์ 1. บอกวัตถุประสงค์ของแบบจำลอง OSI Model ได้ อย่างถูกต้อง 4. บอกความแตกต่างระหว่างการเชื่อมต่อในรูปแบบ Logical และแบบ Physical ได้ 5. อธิบายหน้าที่การทำงานของแต่ละชั้นสื่อสารบนแบบจำลอง OSI ได้อย่างถูกต้อง 6. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างแบบจำลอง OSI Model และ แบบจำลอง Internet ได้ 7. อธิบายหน้าที่การทำงานของแต่ละชั้นสื่อสารบนแบบจำลอง Internet ได้

องค์กร ISO และแบบจำลอง OSI ISO (International Organization for Standardization) องค์กรกำหนดมาตรฐานสากลได้จัดตั้งคณะกรรมการ เพื่อสร้างแบบจำลองสถาปัตยกรรมเครือข่ายขึ้น เพื่อใช้เป็น รูปแบบมาตรฐานในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ แบบจำลอง OSI (Open System Interconnection) แบบจำลอง OSI ที่จัดตั้งมีจุดประสงค์เพื่อให้ระบบที่ แตกต่างกันสามารถสื่อสารร่วมกันได้ Application Presentation Session Transport Network Data Link Physical 7 6 5 4 3 2 1

แบบจำลอง OSI Model มีกรอบการทำงานด้วยการแบ่งชั้น เป็นชั้นการสื่อสารที่เรียกว่า Layer ซึ่ง จะแตกต่างทั้งชื่อเรียกและฟังก์ชั่นหน้าที่การทำงาน มีทั้งหมด 7 ชั้นด้วยกัน 1. Physical Layer 2. Data Link Layer 3. Network Layer 4. Transport Layer 5. Session Layer 6. Presentation Layer 7. Application Layer All People Seem To Need Data Processing

แนวความคิดในการแบ่งชั้นสื่อสาร สามารถสรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1. เพื่อลดความซ้ำซ้อน ทำให้เรียนรู้และทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้น 2. เพื่อให้แต่ละชั้นสื่อสาร มีบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน และแตกต่างกัน 3. เพื่อให้แต่ละชั้นสื่อสารปฏิบัติงานตามฟังก์ชั่นหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล 4. จากขอบเขตความรับผิดชอบในแต่ละชั้นสื่อสาร ทำให้การสื่อสารเกิด ความคล่องตัว และเป็นการป้องกันกรณีเกิดการเปลี่ยนแปลงบนชั้นสื่อสาร หนึ่งๆ แล้วส่งผลกระทบต่อชั้นสื่อสารอื่นๆ 5. จำนวนชั้นสื่อสารจะต้องมีจำนวนมากเพียงพอ และเหมาะสมต่อการจำแนกหน้าที่ทำงานให้กับแต่ละชั้นสื่อสาร และไม่ควรมากเกินความจำเป็น

เพิ่มเติม OSI Model “ แบบจำลอง OSI เป็นเพียงกรอบการทำงานที่เป็นทฤษฎีที่ช่วยสร้างความ เข้าใจเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ แต่แบบจำลองดังกล่าว ไม่ได้ผนวกกรรมวิธีของการสื่อสารเอาไว้ ซึ่งการสื่อสารจริงๆ นั้น จะเกิดขึ้น จากโปรโตคอลที่ใช้สื่อสารกัน โดยแต่ละชั้นสื่อสารจะมีโปรโตคอลประจำ ชั้นที่คอยบริการตามส่วนงานของตนที่ได้รับมอบหมาย และชั้นสื่อสาร หนึ่งๆ อาจมีโปรโตคอลไว้คอยบริการมากกว่าหนึ่งตัวก็เป็นได้ “

การสื่อสารระหว่างเลเยอร์ในแบบจำลอง OSI

การจัดองค์ประกอบของชั้นสื่อสาร ชั้นสื่อสารทั้ง 7 บนแบบจำลอง OSI ยังสามารถแบ่งการทำงานออกเป็น 3 กลุ่มย่อยด้วยกันคือ กลุ่มย่อยที่ 1 : ชั้นสื่อสารที่สนับสนุนด้านเครือข่าย (Network Support Layers) ประกอบไปด้วยชั้นสื่อสารที่ 1,2 และ 3 โดยมีหน้าที่เคลื่อนย้ายข้อมูลจาก อุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่ง กลุ่มย่อยที่ 2 : ชั้นสื่อสารเคลื่อนย้ายข้อมูล (Transport Layers) คือชั้นสื่อสารที่ 4 ทำหน้าที่ในการลิงก์เชื่อมโยงระหว่างกลุ่มย่อยที่ 1 และ กลุ่ม 3

การจัดองค์ประกอบของชั้นสื่อสาร (ต่อ) กลุ่มย่อยที่ 3 : ชั้นสื่อสารที่สนับสนุนงานผู้ใช้ (User Support Layers) ประกอบด้วยชั้นสื่อสาร 5,6 และ 7 ในกลุ่มนี้จะอนุญาตให้ระบบ Software ที่มี ความแตกต่างกัน สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างไม่มีปัญหา 7 6 5 4 3 2 1 Application Presentation Session Transport Network Data Link Physical 3 User Support 2 Transport 1 Network Support

จากรูป กระบวนการสื่อสารจะเริ่มต้นที่ชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่นมาจนถึงชั้น สื่อสารฟิสิคัลโดยแต่ละเลเยอร์จะเตรียมส่วนหัวเรียกว่า Header หรืออาจมี ส่วนหางที่เรียกว่า Trailer ที่นำไปปะเพิ่มกับหน่วยข้อมูล Encapsulation คือ กระบวนการที่ข้อมูลได้ถูกส่งผ่านไปยังเลเยอร์ต่างๆ ก็ จะถูกติด Header หรือ Trailer ในแต่ละเลเยอร์เป็นชั้นๆ เมื่อข้อมูลถูกส่ง มาถึง ชั้นสื่อสารฟิสิคอล (layer1) หน่วยข้อมูลเหล่านี้ก็จะถูกเปลี่ยนมาเป็น สัญญาณไฟฟ้าเพื่อส่งผ่านไปยังลิงก์ต่อไป

Host A Host B Encapsulation Decapsulation

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) 1.ชั้นสื่อสารฟิสิคัล (Physical Layer) ซึ่งจะทำหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปแบบ สัญญาณดิจิทัลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้ ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารฟิสิคัลก็คือ การเคลื่อนย้ายข้อมูลระดับบิตจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) 2.ชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ (Data Link Layer) ทำหน้าที่เหมือนเป็นผู้บริการส่ง ข้อมูลและรวบรวมข้อมูลจากชั้นสื่อสารฟิสิคัลและกำหนดรูปแบบของข้อมูลที่ ส่งผ่านภายในเครือข่ายให้อยู่ในรูปแบบของ เฟรม (Frame) ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ก็คือ การเคลื่อนย้ายเฟรมจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) - ฟิสิคัลแอดเดรส (Physical Address) เช่น หมายเลขการ์ดเครือข่าย Mac Address ซึ่งใช้ระบุถึงตำแหน่งของโหนดนั้นๆ บนเครือข่าย คำสั่งที่ใช้หา Physical Address หรือ Mac Address คือ ipconfig /all หรือ getmac

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) - ควบคุมการไหลของข้อมูล - ควบคุมข้อผิดพลาด หากเกิดการสูญหายระหว่างทางระบบต้องตรวจจับ และสามารถส่งข้อมูลรอบใหม่ได้ - การควบคุมการเข้าถึง โปรโตคอลในชั้น Data Link มีการจัดการเกี่ยวกับ เรื่องสิทธิ์ในการส่งข้อมูล

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) 3.ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก (Network Layer) ทำหน้าที่จัดการกับรูปแบบ ข้อมูลที่เรียกว่า Packet ควบคุมการส่งผ่านข้อมูลระหว่างต้นทางและ ปลายทางโดยผ่านจุดต่าง ๆ บนเครือข่ายให้เป็นไปตามเส้นทางที่กำหนด ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์กก็คือ การส่งมอบ Packet จาก Host ต้นทางไปยัง Host ปลายทาง

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) - ลอจิคัลแอดเดรส (Logical Address) ทำงานอยู่ในชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก โดยนำมาระบุตำแหน่งของอุปกรณ์ แต่ลอจิคัลแอดเดรสจะไม่ยึดติดกับ อุปกรณ์สามารถนำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้ ตัวอย่างเช่น IP Address คำสั่ง ใช้หา IP Address คือ ipconfig /all

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) - การเลือกเส้นทาง(Routing) เครือข่าย internet จึงจำเป็นต้องมีอุปกรณ์ที่ เรียกว่าRouter ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำคัญใช้กำหนดเส้นทางการส่งข้อมูลบน เครือข่าย

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) 4.ชั้นสื่อสารทรานสปอร์ต (Transport Layer) ทำหน้าที่ตรวจสอบและ ควบคุมการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทาง ให้ถูกต้อง ภาระหน้าที่ของชั้นทรานสปอร์ตก็คือ การส่งมอบข่าวสารจาก Process ต้นทางไปยัง Process ปลายทาง

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) - ตำแหน่งที่อยู่ของพอร์ต ชั้นสื่อสาร Transport จะมีการใส่ Header ที่ เรียกว่า Port Address เพื่อให้ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์กสามารถส่ง Packet ต่างๆ ไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทางได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน - การแบ่งเซกเมนต์และการรวบรวม - การควบคุมการเชื่อมต่อในลักษณะ process-to-process - ควบคุมการไหลของข้อมูล ควบคุมการไกลข้อมูลระหว่างฝั่งส่งและรับ

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) 5.ชั้นสื่อสารเซสชั่น (Session Layer) ทำหน้าที่สร้างการติดต่อระหว่างเครื่องต้นทางและปลายทาง ตลอดจนดูแลการส่งข้อมูล ระหว่างเครื่องทั้งสองให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ เช่น การล็อคอิน การกรอกรหัสผ่าน การใช้โฮสต์ การออกจากระบบ ภาระหน้าที่ของชั้นเซสชั่นก็คือ การควบคุมการสื่อสารและการซิงโครไนซ์

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) 6.ชั้นสื่อสารพรีเซนเตชั่น (Presentation Layer) ทำหน้าที่แปลงข้อมูลที่ส่งมาให้อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ รวมทั้งการจัดรูปแบบและนำเสนอข้อมูล โดยกำหนดรูปแบบภาษา ชนิด และวิธีการเข้าถึงข้อมูลของเครื่องผู้ส่งให้เครื่องผู้รับเข้าใจ เช่น การนำเสนอผ่านเว็บ การเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูล ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารพรีเซนเตชั่นก็คือ การแปลงข้อมูล การเข้ารหัสข้อมูลและการบีบอัดข้อมูล

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) 7.ชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่น (Application Layer) เป็นส่วนติดต่อระหว่างโปรแกรมประยุกต์ของเครือข่ายกับผู้ใช้ โดยคอมพิวเตอร์ จะแปลงข้อมูลที่ได้จากผู้ใช้เข้าสู่ระบบ เช่น การนำเสนอผ่านเว็บ การเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูล ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่นก็คือ การจัดการงานบริการให้แก่ผู้ใช้

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) To transmit bits over a medium; to provide mechanical and electrical specifications To organize bits into frames; to provide hop-to-hop delivery To move packets from source to destination; to provide internetworking To provide reliable process-to-process message delivery and error recovery To establish, manage, and terminate sessions To translate, encrypt, and compress data To allow access to network resources Application Presentation Session Transport Network Data Link Physical

เปรียบเทียบแบบจำลอง OSI กับชีวิตประจำวัน ภาระหน้าที่ เปรียบเทียบกับตัวอย่างการดำเนินงานทางธุรกิจ 7. Application Layer โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ตามความต้องการ สินค้าสำเร็จรูป ที่ผู้ซื้อสามารถเลือกซื้อได้ตามความต้องการ 6. Presentation Layer การนำเสนอข้อมูล ให้เข้าใจ ความหมายตรงกันทั้งสองฝั่ง เคาน์เตอร์แสดงสินค้า 5. Session Layer ควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างต้นทางและปลายทางให้สามารถสื่อสารได้จนสำเร็จ เจ้าของร้านโทรศัทพ์ติดต่อกับลูกค้าเพื่อสอบถามยืนยันถึงสินค้าที่ได้จัดส่งไป 4. Transport Layer การรับประกันการส่งข้อมูลให้ถึงมือผู้รับอย่างแน่นอน การจัดส่งสินค้า หรือ การส่งพัสดุลงทะเบียนไปรษณีย์ 3. Network Layer การกำหนดเส้นทางเพื่อการส่งข้อมูลไปยังปลายทาง การกระจายสินค้าไปตามแต่ละพื้นที่ 2. Data Link Layer การจัดรูปแบบข้อมูลในรูปแบบของเฟรมข้อมูล การบรรจุสินค้าลงในหีบห่อพร้อมระบุที่อยู่ปลายทาง 1. Physical Layer อุปกรณ์ฮาร์ตแวร์ สายสัญญาณ และอุปกรณ์เชื่อมต่อ รถบรรทุกส่งของ และ ถนน

แบบจำลอง TCP/IP (TCP/IP Model) ได้ถูกพัฒนาก่อนแบบจำลอง OSI แต่หลักการทำงานคล้ายคลึงกันโดย ประกอบด้วย 5 ชั้นสื่อสาร คือ 1. Physical ชั้นของการกำหนดคุณสมบัติฮาร์ดแวร์ 2. Data Link ชั้นของซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ซึ่งทำงานด้านเชื่อมโยงเข้ากับ สายสื่อสาร 3. Network Layer เลือกเส้นทางเพื่อส่งข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง 4. Transport Layer จัดเตรียมการส่งข้อมูลระหว่างต้นทางปลายทาง 5. Application Layer เป็นส่วนของผู้ใช้งานที่ใช้ติดต่อกับระบบ

แบบจำลอง TCP/IP (TCP/IP Model) (ต่อ)

สรุป แบบจำลอง OSI มีกรอบการทำงานด้วยการแบ่งชั้นสื่อสารที่เรียกว่า Layer ซึ่ง มีทั้งหมด 7 ชั้น ดังนี้ Application Presentation Session Transport Network Data Link Physical

สรุป (ต่อ) แนวความคิดของการแบ่งชั้นสื่อสารบนแบบจำลอง OSI 1. เพื่อลดความซ้ำซ้อน ทำให้เรียนรู้และทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้น 2. เพื่อให้แต่ละชั้นสื่อสาร มีบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน และแตกต่างกัน 3. เพื่อให้แต่ละชั้นสื่อสารปฏิบัติงานตามฟังก์ชั่นหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล 4. จากขอบเขตความรับผิดชอบในแต่ละชั้นสื่อสาร ทำให้การสื่อสารเกิด ความคล่องตัว และเป็นการป้องกันกรณีเกิดการเปลี่ยนแปลงบนชั้นสื่อสาร หนึ่งๆ แล้วส่งผลกระทบต่อชั้นสื่อสารอื่นๆ 5. จำนวนชั้นสื่อสารจะต้องมีจำนวนมากเพียงพอ และเหมาะสมต่อการจำแนกหน้าที่ทำงานให้กับ แต่ละชั้นสื่อสาร และไม่ควรมากเกินความจำเป็น

สรุป (ต่อ) - การอินเตอร์เฟซระหว่างชั้นสื่อสาร เป็นการเตรียมบริการแก่ชั้นสื่อสารที่อยู่เหนือขึ้นไป การสื่อสารบนชั้นสื่อสารเดียวกันระหว่างต้นทางกับปลายทาง จะสื่อสารผ่าน Protocol โดยชั้น สื่อสารตั้งแต่ Data Link ขึ้นไปจะเป็นการสื่อสารเชิงตรรก หรือที่เรียกว่า Peer-to-Peer Process การสื่อสารบนชั้นสื่อสารเดียวกันระหว่างต้นทางปลายทางที่มีการส่งผ่านข้อมูลผ่านลิงก์จริงๆ จะเกิด เฉพาะในชั้นสื่อสาร Physical เท่านั้น - กระบวนการสื่อสารที่เริ่มจากฝั่งส่ง ที่มีการเคลื่อนย้ายข้อมูลจาก Layer หนึ่งไปยัง Layer ถัดไปด้านล่างในรูปแบบ 7-6-5-4-3-2-1 ซึ่งแต่ละ Layer ก็จะเตรียม Header เพื่อนำไปปะเพิ่มกับ หน่วยข้อมูล เราเรียกกระบวนการนี้ว่า Encapsulation - เมื่อสัญญาณถูกส่งผ่าน Link และไปถึงจุดหมายปลายทาง หน่วยข้อมูลก็จะเคลื่อนย้ายย้อนกลับ ขึ้นไปตามลำดับ 1-2-3-4-5-6 จากนั้นแต่ละ Layer ก็จะถอด Header เฉพาะส่วนที่เป็นของตนออก เราเรียกกระบวนการนี้ว่า Decapsulation

สรุป (ต่อ) ชั้นสื่อสารฟิสิคัลก็คือ การเคลื่อนย้ายข้อมูลระดับบิตจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป ชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ก็คือ การเคลื่อนย้ายเฟรมจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์กก็คือ การส่งมอบ Packet จาก Host ต้นทางไปยัง Host ปลายทาง ชั้นทรานสปอร์ตก็คือ การส่งมอบข่าวสารจาก Process ต้นทางไปยัง Process ปลายทาง ชั้นเซสชั่นก็คือ การควบคุมการสื่อสารและการซิงโครไนซ์ ชั้นสื่อสารพรีเซนเตชั่นก็คือ การแปลงข้อมูล การเข้ารหัสข้อมูลและการบีบอัดข้อมูล ชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่นก็คือ การจัดการงานบริการให้แก่ผู้ใช้ - แบบจำลอง TCP/IP ถูกพัฒนามาก่อน OSI Model ดังนั้นชั้นสื่อสารของแบบจำลองจึงไม่เท่ากัน แต่มีหลักการทำงานที่คล้ายกัน

แบบฝึกหัดท้ายบท