MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

โปรแกรม Microsoft Excel มี ความสามารถเด่นในด้านการคำนวณ ซึ่งมี ลักษณะการคำนวณ 2 รูปแบบใหญ่ๆ ได้แก่ การคำนวณด้วยสูตร (Formula) การคำนวณด้วยฟังก์ชันสำเร็จรูป.
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
Solution Explorer Properties Window Tool Box.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Operator of String Data Type
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
บทที่ 4 คำสั่งควบคุม โปรแกรม. คำสั่งควบคุมโปรแกรมออกได้เป็น 2 ประเภท คือ คำสั่งแบบกำหนดเงื่อนไข (Conditional Statement) คำสั่งแบบทำงานซ้ำ (Repetitive.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 8: การทำซ้ำ (while, do-while)
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
หน่วยที่ 1 เรื่อง การใช้โปรแกรมตารางงานนำเสนอข้อมูล สาระสำคัญ โปรแกรม Microsoft Excel เป็นโปรแกรมที่ สามารถช่วยในเรื่องการคำนวณทั้งการบวก การลบ การคูณ.
การใช้งาน Microsoft Word กลุ่ม 2T_PUK. โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะกับ งานพิมพ์ต่าง ๆ แทนเครื่องพิมพ์ดีดในสมัยก่อน ที่เวลาแก้ไข.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
MTH 261 File Management. File Management File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 1 MIT App Inventor เรียนรู้การใช้งานเบื้องต้น ทดสอบการเชื่อมต่อโปรแกรมกับโทรศัพท์มือถือ
คำสั่งควบคุมการทำงาน
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
เกม คณิตคิดเร็ว.
บทที่ 2-3 ภาษาซีเบื้องต้น
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ข้อมูลและการดำเนินการกับข้อมูล
การเขียนโปรแกรม ภาษาปาสคาล (Pascal)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 3 ชนิดข้อมูลและการแทนชนิดข้อมูลการประกาศตัวแปร.
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 4 เครื่องหมาย ตรรกะศาสตร์ และการดำเนินการทางตรรกะศาสตร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล
BC320 Introduction to Computer Programming
Work Shop 1.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
รายวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Week 5 C Programming.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล

พื้นฐานของโปรแกรมภาษา C โปรแกรมที่ เขียน (source program) คอมไพ ล์ (compil e) คอมไพ ล์ (compil e) ลิงค์ (link) ลิงค์ (link) ไฟล์โปรแกรม ใช้งาน (execution file) ไฟล์ อื่นๆ ที่ เกี่ยวข้ อง เริ่มต้ น การรับ ค่า การดำเนินการ ต่างๆ เช่น การคำนวณ เงื่อนไข การวนทำซ้ำ การ แสดงผ ล จบ ส่วนประกอบของโปรแกรมทั่วไป

ตัวแปร ชนิดคำอธิบายขนาด (bit) ช่วงค่า int จำนวนเต็ม (integer) ทั้งบวกและลบ ถ้าต้องการใช้เฉพาะจำนวนเต็มบวก เป็น unsigned int 32 (-2 31 ) ถึง (2 31 – 1) 0 ถึง (2 32 ) char ตัวอักษร (character) อักขระ 8 float จำนวนจริง เลขทศนิยม 6 ตำแหน่ง (single precision) 32 (3.4 x ) ถึง (3.4 x ) doubl e จำนวนจริง เลขทศนิยม 12 ตำแหน่ง (double precision) 64 (3.4 x ) ถึง (3.4 x ) การประกาศ ตัวแปร ชนิด ชื่อตัวแปร ; ชนิด ชื่อตัวแปร = ค่าเริ่มต้น ; int ant; float weight = 32.6; การประกาศค่าคงที่ (constant) const int ant = 4; const float weight = 32.6;

การตั้งชื่อตัวแปร ต้องเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข (0 ถึง 9) หรือเครื่องหมาย underscore ( _ ) ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร หรือเครื่องหมาย underscore เช่น ant, _box ใช้ตัวเลขร่วมได้ แต่ห้ามขึ้นต้นด้วยตัวเลข ตัวอย่างที่ใช้ได้ cat1, mass4, _5dog ตัวอย่างที่ใช้ไม่ได้ 1cat, 4mass ต้องไม่ซ้ำกับคำเฉพาะของภาษา C ตัวอย่างคำที่ใช้เป็นชื่อตัวแปรไม่ได้ int, char, float, double if, else, while, do, for ตัวแปรที่มีชื่อใช้ตัวอักษรตัวพิมพ์เล็กกับตัวพิมพ์ใหญ่ถือว่าเป็นตัวแปรคนละตัวกัน เช่น ant, Ant, aNt ถือว่าเป็นตัวแปรคนละตัวกัน

ตัวดำเนินการ (operator) + ( บวก )– ( ลบ )* ( คูณ )/ ( หาร ) % (modulo การหาเศษจากการหาร ) ตัวดำเนินการทาง คณิตศาสตร์ ลำดับความสำคัญของ ตัวดำเนินการ ลำดับ ความสำคัญ ตัวดำเนินการ 1( ) 2*, /, % 3+, – หมายเหตุ ตัวดำเนินการที่มีลำดับความสำคัญเท่ากัน จะคำนวณตัวดำเนินการที่เขียนไว้จากซ้ายไปขวา ตัวอย่าง * 4 ได้ผลลัพธ์เป็น 17 (5 + 3) * 4 ได้ผลลัพธ์เป็น 32

ตัวดำเนินการ (operator) การเขียนอย่างย่อ การเขียนย่อตัวอย่างความหมาย ++A++;A = A + 1; – A– –;A = A – 1; +=A += B;A = A + B; –=A –= B;A = A – B; *=A *= B;A = A * B; /=A /= B;A = A / B;

ตัวดำเนินการ (operator) ตัวดำเนินการ เปรียบเทียบ == เท่ากับ != ไม่เท่ากับ > มากกว่า < น้อยกว่า >= มากกว่าหรือ เท่ากับ <= น้อยกว่าหรือ เท่ากับ ตัวดำเนินการทางตรรกะ (logical operator) &&AND ||OR !NOT ^exclusive OR (XOR) AB A && B A || B ! AA ^ B True False TrueFalse True FalseTrueFalseTrue False

คำสั่งการแสดงผล printf(“ ข้อความหรือรูปแบบการแสดงผล ”, ตัวแปรที่ต้องการแสดงผล ) ตัวอย่างการแสดงผลทางหน้าจอ printf(“Hello World”); Hello World รหัสกำหนดรูปแบบ การแสดงผล รหัสรูปแบบการแสดงผล %d เลขจำนวนเต็ม ( ฐาน 10) %u เลขจำนวนเต็ม ไม่มี เครื่องหมาย %f จำนวนจริง รูปแบบเลข ทศนิยม %e จำนวนจริง รูปแบบทศนิยม x 10 n รหัสรูปแบบการแสดงผล %c ตัวอักษรตัวเดียว (char) %s ชุดตัวอักษร หรือ ข้อความ %o เลขฐาน 8 %x เลขฐาน 16

คำสั่งการแสดงผล printf(“ ข้อความหรือรูปแบบการแสดงผล ”, ตัวแปรที่ต้องการแสดงผล ) อักขระกำหนดรูปแบบ การแสดงผล อักขระรูปแบบการแสดงผล \n ขึ้นบรรทัดใหม่ \r ให้ cursor ไปอยู่ต้นบรรทัด ตัวอ ย่าง การแสดงผลทาง หน้าจอ printf(“Hello World %d”, a); Hello World 123 printf(“Hello World %f”, a);Hello World printf(“Hello\n World %f, %d”, a, a); Hello World , 123 สมมติว่า a มีค่าเป็น

คำสั่งการแสดงผลอื่นๆ putchar( ตัวอักษรตัวเดียว หรือ ตัวแปรแบบ char) ตัวอ ย่าง การแสดงผลทาง หน้าจอ putchar(‘T’);T putchar(name);A สมมติว่า name มีค่าเป็น A puts( ชุดตัวอักษร ข้อความ หรือ ตัวแปรที่เป็น ข้อความ ) ตัวอ ย่าง การแสดงผลทาง หน้าจอ puts(“Test Display”); Test Display puts(name);Ant สมมติว่า name มีค่าเป็น Ant

คำสั่งการรับข้อมูล getchar() รับข้อมูลตัวอักษร 1 ตัว โดยจะรับ ข้อมูลหลังกดปุ่ม ตัวอย่าง char box; box = getchar(); getch() รับข้อมูลตัวอักษร 1 ตัว แต่จะรับข้อมูล โดยไม่ต้องกดปุ่ม ตัวอย่าง char ant; ant = getch();

Website ข้อสอบ กว. ome.php?aMenu=70101