งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิทยาศาสตร์ ว 42102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิทยาศาสตร์ ว 42102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิทยาศาสตร์ ว 42102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน

2 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา

3 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ยกตัวอย่างและอธิบายเกี่ยวกับ ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาได้

4 แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหว
เกิดตามขอบแผ่นเปลือกโลกและ ส่วนใหญ่เกิดตามรอบ ๆ มหาสมุทรหรือ ที่เรียกว่า วงแหวนไฟ(The Ring of Fire)

5 การปฏิบัติตนเมื่อเกิดแผ่นดินไหว

6 ภูเขาไฟ Volcanoes

7

8 การระเบิดต่อเนื่องกันหลายครั้ง ออกจากปล่องภูเขาไฟ ทำให้วัตถุ
ที่ถูกพ่นออกมาก่อตัวขึ้นเป็นภูเขา บริเวณยอดสูงสุดจะมีหุบซึ่งมี ผนังชันเรียกว่าปล่องภูเขาไฟ (Crater)

9 และมีท่อเชื่อมต่อลงไปยังบริเวณ ที่กักเก็บหินหนืด ภูเขาไฟบางลูก
มีหุบใหญ่บริเวณยอด ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 1 กิโลเมตร เรียกว่า แคลดีรา (Caldera)

10 และมีท่อเชื่อมต่อลงไปยังบริเวณ ที่กักเก็บหินหนืด ภูเขาไฟบางลูก
มีหุบใหญ่บริเวณยอด ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 1 กิโลเมตร เรียกว่า แคลดีรา (Caldera)

11 และมีท่อเชื่อมต่อลงไปยังบริเวณ ที่กักเก็บหินหนืด ภูเขาไฟบางลูก
มีหุบใหญ่บริเวณยอด ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 1 กิโลเมตร เรียกว่า แคลดีรา (Caldera)

12 จนกระทั่งมีการไหลบ่าของลาวา อีกครั้งหนึ่งในอีกลักษณะหนึ่ง
ลาวาที่มีความหนืดมากจะไหลขึ้นมาอย่างช้าๆ และหยุดลง แข็งตัวเป็นปลั๊ก (Plug) อุดตันอยู่ในท่อ

13 การอุดตันมักจะทำให้ปล่องภูเขาไฟระเบิด และขยายใหญ่ขึ้นได้ บางทีอาจทำให้หินหนืด หรือกาซที่ขึ้นมาดันตัวผ่านรอยแตกร้าวบริเวณด้านข้างของภูเขาไฟง่ายยิ่งขึ้น

14 พาราสิติกโคน (Parasitic cone)
การปะทุของภูเขาไฟอย่างต่อเนื่องออกด้านข้าง อาจทำให้เกิดกรวยภูเขาไฟขนาดเล็กที่ผนังเรียกว่า พาราสิติกโคน (Parasitic cone)

15 ตัวอย่างเช่นภูเขาไฟเมาท์เอ็ดนา (Mount Etna) ในอิตาลี จะมีท่อขนาดเล็กจำนวนมากกว่า 200 ท่อ บางท่อมีเพียงก๊าซเท่านั้นที่พุ่งขึ้นมา และเรียกกันว่าพุก๊าซ (Fumarole)

16

17

18

19

20

21 นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาภูเขาไฟ (Volcanologist) ยอมรับกันว่า ภูเขาไฟยังมีลักษณะบางอย่างที่คล้ายคลึงกันในรูปแบบที่เกิดจากการระเบิด

22 จัดแบ่งออกไปได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
1. ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield volcano) 2. กรวยกรวดภูเขาไฟ (Cinder cone) 3. กรวยภูเขาไฟสลับชั้น (Composite cone or Composite volcano)

23 ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield volcano)

24 เป็นภูเขาไฟรูปเหมือนโล่ ด้านข้างมีความลาดชั้นน้อยประมาณ 4 ถึง 10 องศาเท่านั้น และไม่เกิน 15 องศาในบริเวณใกล้ยอด ภูเขาไฟแบบนี้เกิดเนื่องจากการไหลหลากของลาวาบะซอลท์ซึ่งค่อนข้างเหลว จึงไหลแผ่ออกไปเป็นบริเวณกว้าง เช่นภูเขาไฟที่พบในหมู่เกาะฮาวาย

25

26

27 นิวซีแลนด์

28

29 ชื่อ เมานาโลอา (Mauna Loa) เป็นภูเขาไฟกว้างใหญ่ที่สุดในโลก
ตัวอย่างเช่น ภูเขาไฟของเกาะฮาวาย ชื่อ เมานาโลอา (Mauna Loa) เป็นภูเขาไฟกว้างใหญ่ที่สุดในโลก ครูศรีไพร แตงอ่อน

30 ครูศรีไพร แตงอ่อน

31 กรวยกรวดภูเขาไฟ (Cinder cone

32 กรวยกรวดภูเขาไฟ เป็นกองมูลภูเขาไฟ รูปกรวยยอดตัดที่เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟแบบไม่มีลาวาไหลออกมา มูลภูเขาไฟนี้เป็นกรวด ที่มีขนาดระหว่าง 4-32 mm และหลังจากระเบิดกระจายขึ้นสู่ท้องฟ้าแล้ว แข็งตัวตกลงมาสะสมอยู่รอบๆ ช่องระเบิด ทำให้เกิดภูมิประเทศแบบกระด้ง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขึ้นอยู่กับแรงระเบิด

33

34 ครูศรีไพร แตงอ่อน

35 ครูศรีไพร แตงอ่อน

36 ครูศรีไพร แตงอ่อน

37 การเกิดของภูเขาไฟลูกหนึ่งที่
นักธรณีวิทยา สามารถเฝ้าสังเกตศึกษาจากเริ่มต้น จนถึงสงบลงคือ กรวยกรวดภูเขาไฟ พาริคูติน (Paricutin) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกตอนกลางของเม็กซิโก ครูศรีไพร แตงอ่อน

38 ครูศรีไพร แตงอ่อน

39 เมื่อเริ่มส่งสัญญาณว่าจะระเบิด
ครูศรีไพร แตงอ่อน

40 ครูศรีไพร แตงอ่อน

41 (Composite cone or Composite volcano)
กรวยภูเขาไฟสลับชั้น (Composite cone or Composite volcano) ครูศรีไพร แตงอ่อน

42 กรวยภูเขาไฟสลับชั้น เป็นภูเขาไฟ ที่มีการสลับชั้นของหินลาวา และ
หินตะกอนภูเขาไฟ เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟที่พ่นลาวาออกมาแล้วไหลลามออกไปรอบๆ ปล่องเป็นวงกว้างสลับกับการตกสะสมของสิ่งตกจมภูเขาไฟ ครูศรีไพร แตงอ่อน

43 ครูศรีไพร แตงอ่อน

44 เมาท์เมยอน (Mount Mayon) ในฟิลิปปินส์
ครูศรีไพร แตงอ่อน

45 เมาท์เมยอน (Mount Mayon) ในฟิลิปปินส์
ครูศรีไพร แตงอ่อน

46 Fujiyama ประเทศญี่ปุ่น
ครูศรีไพร แตงอ่อน

47 ปล่องภูเขาไฟลำปาง จังหวัดลำปาง
ครูศรีไพร แตงอ่อน

48 ครูศรีไพร แตงอ่อน

49 ภูพระอังคาร จังหวัดบุรีรัมย์
ครูศรีไพร แตงอ่อน

50 ครูศรีไพร แตงอ่อน

51

52

53

54

55

56

57

58 สัญญาณเตือน ภูเขาไฟระเบิด ที่เอกวาดอร์

59 ครูศรีไพร แตงอ่อน

60 ครูศรีไพร แตงอ่อน

61 ครูศรีไพร แตงอ่อน

62 ครูศรีไพร แตงอ่อน

63 ครูศรีไพร แตงอ่อน

64 ครูศรีไพร แตงอ่อน

65 ครูศรีไพร แตงอ่อน

66 ครูศรีไพร แตงอ่อน

67 ครูศรีไพร แตงอ่อน

68 ครูศรีไพร แตงอ่อน

69 ครูศรีไพร แตงอ่อน

70 ครูศรีไพร แตงอ่อน

71 ครูศรีไพร แตงอ่อน

72 ครูศรีไพร แตงอ่อน

73 ครูศรีไพร แตงอ่อน

74 นักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา โดย นักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ครูศรีไพร แตงอ่อน

75 การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก Plate Tectonics
ครูศรีไพร แตงอ่อน

76 ครูศรีไพร แตงอ่อน

77 การเคลื่อนตัวของเปลือกโลกสามารถดูได้จากหลักฐานจากฟอสซิล
ครูศรีไพร แตงอ่อน

78 ทฤษฎีทวีปเลื่อน ครูศรีไพร แตงอ่อน

79 การเคลื่อนที่แยกจากกัน
การไหลของความร้อนทำให้ชั้นธรณีแตกออกเกิดเป็นแนวแยกหุบเขา หินเก่าจะถูกดันออกไปขณะที่เกิดหินใหม่จาการแทรกตัวของแมกมาตามรอยแยกเย็นตัวลง OLDER ROCK OLDER ROCK HEAT FLOW ครูศรีไพร แตงอ่อน

80 การเคลื่อนที่แยกจากกันพร้อมการเคลื่อนที่ไถลตัวขนาน
รอยแยกหุบเขาอาจแตกเป็นช่วงเรียกว่า รอยแตกแบบเฉือน ครูศรีไพร แตงอ่อน

81 แนวเทือกเขากลางสมุทร
เกาะไอซ์แลนด์ ครูศรีไพร แตงอ่อน

82 การเคลื่อนที่แบบเฉือน
ครูศรีไพร แตงอ่อน

83 ตัวอย่างบริเวณที่เกิดการเคลื่อนที่แบบเฉือน
San Andreas Fault ครูศรีไพร แตงอ่อน

84 ทิศตะวันตกของ แคลิฟอร์เนีย เรียกว่า San Andreas Fault มักเกิดแผ่นดินไหวบ่อยครั้งเกิดจากแผ่นเปลือกโลกแปซิฟิกไถลกับแผ่นอเมริกาเหนืออัตราเฉลี่ยปีละ 5 เซนติเมตร บางพื้นที่อาจไม่มีการเคลื่อนไหวเป็นศตวรรษ ความดันอาจถูกสะสมซึ่งอาจทำให้เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในอนาคต ครูศรีไพร แตงอ่อน

85 การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นมหาสมุทร
แผ่นทวีปเป็นหินแกรนิต มีความหนาแน่นน้อยกว่าแผ่นมหาสมุทร ซึ่งเป็นหินบะซอลต์แผ่นมหาสมุทรที่หนาแน่นกว่าจะมุดลงใต้แผ่นทวีปเกิดเป็นร่องเหวมหาสมุทร trench อุณหภูมิและความดันที่สูงในชั้นฐานธรณีทำให้แผ่นที่มุดลงมาหลอมละลาย ครูศรีไพร แตงอ่อน

86 ตัวอย่าง เช่น ร่องลึกบาดาลมาเรียนา เกิดจากการชนกันระหว่าง เปลือกโลก
แผ่นยูเรเชียซึ่งเป็นแผ่นดิน กับ เปลือกโลกแผ่นแปซิฟิก ซึ่งเป็นแผ่น มหาสมุทร ครูศรีไพร แตงอ่อน

87 การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นมหาสมุทร
แมกม่าจะดันตัวสูงขึ้นสู่พื้นผิวและหนีออกมาในรูปแบบของการเกิด ภูเขาไฟ การเกิดแนวเทือกเขาบนทวีป การประทุของภูเขาไฟแผ่นดินไหวจากการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกมักเกิดรุนแรงกว่าในการเคลื่อนที่แผ่นเปลือกโลกรูปแบบอื่น ร่องลึกบาดาลญี่ปุ่น ตรงบริเวณสีเขแดง คือ ร่องลึกบาดาล ยูเรเชีย แปซิฟิก ครูศรีไพร แตงอ่อน

88 การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นมหาสมุทร
ครูศรีไพร แตงอ่อน

89 การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นมหาสมุทรกับแผ่นมหาสมุทร
แผ่นที่มีอายุมากกว่าซึ่งมีความหนาแน่มากกว่าจะมุดลงใต้แผ่นที่มาอายุน้อยกว่าซึ่งมีความหนาแน่นต่ำกว่า แผ่นที่มีอายุมากกว่ายิ่งเคลื่อนที่ไหลออกจากแนวเทือกเขากลางสมุทร แนวเกาะรูปโค้ง Island arcs จะเกิดขึ้นใกล้ร่องเหวสมุทรที่มุด ลงแล้วหลอมละลายดันตัวขึ้นสู่พื้นผิวใน รูปแบบการประทุของภูเขาไฟ ครูศรีไพร แตงอ่อน

90 การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นมหาสมุทรกับแผ่นมหาสมุทร
ครูศรีไพร แตงอ่อน

91 การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นทวีป
การเคลื่อนที่เข้าหากันมักทำให้เกิดการเชื่อมกันแล้วยกตัวขึ้นเป็นแนวเทือกเขา ครูศรีไพร แตงอ่อน

92 แผ่นอินเดียชนกับแผ่นเอเซีย
ทำให้เกิดเทือกเขาหิมาลัย ประเทศอินเดียถูกดันขึ้นไปทางทิศเหนือสู่ประเทศจีนด้วยอัตราเร็วปีละ 5 เซนติเมตร ประเทศอินเดียถูกเชื่อมกับทวีปยูเรเชียด้วยเทือกเขาและเกิดแผ่นดินไหวบ่อยๆ ครูศรีไพร แตงอ่อน

93 การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นทวีป
ครูศรีไพร แตงอ่อน

94 ครูศรีไพร แตงอ่อน

95 การเกิดคลื่นยักษ์ Tsunami
B D C ครูศรีไพร แตงอ่อน

96 การเกิดคลื่นยักษ์ Tsunami
คือ คลื่นหรือกลุ่มคลื่นที่มีจุดกำเนิดอยู่ในเขตทะเลลึก ซึ่งมักปรากฏหลังแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ แผ่นดินไหวใต้ทะเล ภูเขาไฟระเบิด ดินถล่ม แผ่นดินทรุด หรืออุกกาบาตขนาดใหญ่ตกลงในทะเล คลื่นสึนามิสามารถเข้าทำลายพื้นที่ชายฝั่ง ทำให้เกิดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินได้ A B D C ครูศรีไพร แตงอ่อน

97 ครูศรีไพร แตงอ่อน

98 ปรากฏการณ์ จากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก
ครูศรีไพร แตงอ่อน

99 การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก
เนื่องจากเปลือกโลกมิได้เป็นแผ่นเดียวต่อเนื่องติดกัน มีแผ่นหลายแผ่นเรียงชิดติดกันเรียกว่า “เพลต” (Plate) เพลตทุกเพลตเคลื่อนตัวเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างอยู่ตลอดเวลา เพลตประกอบด้วยเปลือกทวีปและเปลือกมหาสมุทรวางตัวอยู่บนแมนเทิลชั้นบนสุด ซึ่งเป็นของแข็งในชั้นลิโทสเฟียร์ ลอยอยู่บนหินหนืดร้อนในชั้นแอสทีโนสเฟียร์อีกทีหนึ่ง หินหนืด (Magma) เป็นวัสดุเนื้ออ่อนเคลื่อนที่หมุนเวียนด้วยการพาความร้อนภายในโลก การเคลื่อนตัวของวัสดุในชั้นแอสทีโนสเฟียร์ทำให้เกิดการเคลื่อนตัวเพลตเราเรียกกระบวนการเช่นนี้ว่า “ธรณีแปรสัณฐาน” หรือ “เพลตเทคโทนิคส์” (Plate Tectonics) ครูศรีไพร แตงอ่อน

100 ครูศรีไพร แตงอ่อน

101 ผลที่เกิดขึ้น เมื่อเกิดการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก
ครูศรีไพร แตงอ่อน

102 แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์การสั่นสะเทือนหรือเขย่าของพื้นผิวโลก อันเนื่องมาจากการปลดปล่อยพลังงานเพื่อระบายความเครียด ที่สะสมไว้ภายในโลกออกมาอย่างฉับพลันเพื่อปรับสมดุลของเปลือกโลกให้คงที่ โดยปกติเกิดจากการเคลื่อนไหวของรอยเลื่อน ภายในชั้นเปลือกโลกที่อยู่ด้านนอกสุดของโครงสร้างของโลก มีการเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ อยู่เสมอ สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้นส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ บางลักษณะสามารถเกิดจากการกระทำของมนุษย์ได้ เช่น การทดลองระเบิดปรมาณู การปรับสมดุลเนื่องจากน้ำหนักของน้ำที่กักเก็บในเขื่อน และแรงระเบิดของการทำเหมืองแร่ เป็นต้น ครูศรีไพร แตงอ่อน

103 ความเสียหายจากแผ่นดินไหวที่จังหวัด Niigata วันที่ 16 กรกฎาคม 2550
ครูศรีไพร แตงอ่อน

104 แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ขึ้นในมณฑลเสฉวนนั้นกว้างถึง 65,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมเมืองใหญ่ทั้ง 6 วันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.2551 ครูศรีไพร แตงอ่อน

105 ประมวลภาพความเสียหายที่เกิดจากแผ่นดินไหว
ครูศรีไพร แตงอ่อน

106 ครูศรีไพร แตงอ่อน

107 ภูเขาไฟระเบิด เกิดจากการปะทุของแมกมา แก๊ส และเถ้าจากใต้เปลือกโลก ก่อนการระเบิดมักจะมีสัญญาณบอกเหตุให้รู้ล่วงหน้า เช่นแผ่นดินในบริเวณรอบๆภูเขาไฟเกิดการสั่นสะเทือน มีเสียงฟ้าร้องติดต่อกันเป็นเวลานาน ครูศรีไพร แตงอ่อน

108 ผลพลอยได้จากการเกิดภูเขาไฟระเบิด
แร่อัญมณีที่มาพร้อมกับลาวาที่เย็นตัวแล้ว ภูเขาไฟที่เย็นตัวแล้ว บางแห่งเป็นแหล่งท่องเที่ยว ครูศรีไพร แตงอ่อน

109 การแยกตัวของผืนแผ่นดิน
ครูศรีไพร แตงอ่อน

110 * เมื่อเกิดการแยกตัวของแผ่นดิน จะเกิด
* เมื่อเกิดการแยกตัวของแผ่นดิน จะเกิด ทวีป หรือแผ่นดินใหม่ ครูศรีไพร แตงอ่อน

111 การเกิดหมู่เกาะใหม่ๆ
นักวิทยาศาสตร์และนักธรณีวิทยาได้ศึกษารอยต่อของแผ่นภาคธรณีอย่างละเอียด และสามารถสรุปลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาคได้ 3 ลักษณะใหญ่ๆ คือ 1. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน 2. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน 3. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน ครูศรีไพร แตงอ่อน

112 การเกิดการยุบตัวของแผ่นดิน
ทำให้เกิดปรากฏการณ์ ดินถล่ม แผ่นดินยุบตัว หุบเขาทรุด เกิดเป็นแอ่งน้ำ ทะเลสาบ ธารน้ำขนาดเล็ก เกิดการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา เช่น พื้นที่อยู่อาศัย อาคารบ้านเรือนถล่ม พื้นถนนแยกตัว ครูศรีไพร แตงอ่อน

113 การกัดเซาะแผ่นดินจากกระแสน้ำ
ทำให้เกิดปรากฏการณ์ พื้นที่ส่วนที่ใกล้กับมหาสมุทร ถูกน้ำทะเลกัดเซาะ มีพื้นที่ลดลง พื้นที่มหาสมุทรขยายตัว ครูศรีไพร แตงอ่อน

114 การเกิดรอยเลื่อนที่ดันตัวขึ้นมาบนเปลือกโลก
ทำให้เกิดปรากฏการณ์ 1. เกิดเป็นเทือกเขาสูง 2. เกิดที่ราบสูง แผ่นดินอยู่ในลักษณะสูงกว่าเดิม หรือเสียรูปทรงซึ่งเสียหายจากการที่เปลือกโลกแทรกตัวขึ้นมา 3. เกิดรอยเลื่อนที่ปรากฏได้ชัดเจน ครูศรีไพร แตงอ่อน

115 ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากกการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก
สึนามิ ( Tsunami) ครูศรีไพร แตงอ่อน

116 สึนามิเป็นปรากฏการณ์ที่สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเวลาหากเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟใต้ทะเลระเบิด หรือเปลือกโลกใต้ทะเลมีการเคลื่อนตัวอย่างรุนแรง แม้กระทั่งมีอุกกาบาตขนาดใหญ่ตกสู่มหาสมุทร ทั้งหมดทำให้เกิดคลื่นน้ำที่จะยิ่งเพิ่มขนาดความสูงขึ้นเรื่อยๆ และเมื่อเคลื่อนตัวเข้าใกล้ชายฝั่ง จะมีความยาวตั้งแต่ กิโลเมตร ครูศรีไพร แตงอ่อน

117 การเกิดถ้ำ ครูศรีไพร แตงอ่อน

118 การเกิดถ้ำ ครูศรีไพร แตงอ่อน

119 หลุมยุบ El Zacatón Cenote หลุมยุบที่มีน้ำที่ลึกที่สุดในโลก
ครูศรีไพร แตงอ่อน

120 หลุมยุบคืออะไร หลุมยุบ หรือ Sinkhole เป็นธรณีพิบัติภัยประเภทหนึ่งเกิดตามธรรมชาติแต่กิจกรรมของมนุษย์ก็สามารถเร่งให้เกิดเร็วขึ้นได้ทั่วไป

121 หลุมยุบ เกิดในภูมิประเทศที่ใต้ผิวดินเป็นหินปูน หินโดโลไมต์และหินอ่อน ซึ่งหินเหล่านี้ละลายได้ในน้ำใต้ดิน ทำให้เกิดโพรงหรือถ้ำใต้ดินขึ้น

122 และเมื่อเพดานต้านทานน้ำหนักของดินและสิ่งก่อสร้างที่กดทับด้านบนไม่ไหวจึงพังกลายเป็นหลุมยุบ

123 ปัจจัยที่ทำให้เกิดหลุมยุบ
1. เป็นบริเวณที่มีหินปูนรองรับอยู่ใน ระดับน้ำตื้น 2. มีโพรงหรือถ้ำใต้ดิน 3. มีตะกอนดินปิดทับทาง ( ไม่เกิน 50 เมตร )

124 ปัจจัยที่ทำให้เกิดหลุมยุบ
4. มีการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำใต้ดิน 5. มีรอยแตกที่เพดานโพรงใต้ดิน 6. ตะกอนดินที่อยู่เหนือโพรง ไม่สามารถคงตัวอยู่ได้

125 ปัจจัยที่ทำให้เกิดหลุมยุบ
7. มีการก่อสร้างอาคารที่ที่มีโพรงหินปูน ใต้ดินระดับตื้น 8. มีการเจาะบ่อบาดาลผ่านเพดานโพรง หินปูนใต้ดินระดับตื้น ทำให้แรงดัน น้ำและอากาศภายในโพรงถ้ำ เปลี่ยนแปลง

126 ปัจจัยที่ทำให้เกิดหลุมยุบ
9. มีผลกระทบที่เกิดจากแผ่นดินไหวที่มี ความรุนแรงเกิน 7 ริกเตอร์

127

128

129

130

131

132

133

134

135

136 ตัวแทน ม.5/4 เสนอ การเกิดหลุมยุบ
ครูศรีไพร แตงอ่อน

137 หลุมยุบ (sinkhole) เป็นหลุมหรือแอ่งบนพื้นดิน มักจะมีลักษณะค่อนข้างกลม และมีขนาด (เส้นผ่านศูนย์กลาง) ได้ตั้งแต่ไม่กี่เมตร ไปจนถึงราว 200 เมตรกว่าๆ หลุมไซส์เล็กอาจลึกแค่เพียงไม่กี่เมตร ส่วนหลุมไซส์ใหญ่อาจลึกนับสิบเมตร อย่างเช่น หลุมยุบขนาดยักษ์ที่เคยเกิดที่วินเทอร์ พาร์ค รัฐฟลอริดา ในอเมริกา ระหว่างวันที่ 8-9 พฤษภาคม พ.ศ.2524 นั้น มีขนาดถึง 100 เมตร และลึกถึง 35 เมตร ครูศรีไพร แตงอ่อน

138 หลุมยุบในฟอริด้า ครูศรีไพร แตงอ่อน

139 นักธรณีวิทยาบอกว่า หลุมยุบเกิดได้ 3 แบบ ใหญ่ๆ
การเกิดหลุมยุบ นักธรณีวิทยาบอกว่า หลุมยุบเกิดได้ 3 แบบ ใหญ่ๆ แบบแรกเกิดในพื้นที่ซึ่งใต้ผิวดินเป็นหินที่น้ำสามารถชะละลายได้ เช่น หินเกลือ หินยิปซัม และหินปูน ในกรณีของหลุมยุบในหินปูนซึ่งพบค่อนข้างบ่อยนั้น น้ำบาดาลเป็นตัวการหมายเลขหนึ่ง โดยมีกลไกซับซ้อนเล็กน้อย นั่นคือ น้ำบาดาลจะละลายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปก่อน เกิดเป็นกรดคาร์บอนิก (carbonic acid) อ่อนๆ ครูศรีไพร แตงอ่อน

140 จากนั้นกรดคาร์บอนิกนี้จะทำปฏิกิริยากับแคลไซต์ (สารประกอบแคลเซียมคาร์บอเนต) ในหินปูน จนได้แคลเซียมคาร์บอเนต (calcium carbonate) ซึ่งละลายในน้ำได้ เมื่อหินปูนใต้ผิวดินถูกชะละลายไปมากเข้าจนถึงจุดหนึ่งก็จะรับน้ำหนักดินที่อยู่ด้านบนไม่ไหว และทรุดตัวพังลงมาเป็นหลุมยุบ เนื่องจากหลุมยุบแบบนี้เกิดแบบค่อยเป็นค่อยไป จึงมักจะค่อนข้างตื้น และลาดเอียงไม่มากนัก ครูศรีไพร แตงอ่อน

141 แบบที่สองนั้นดุดันและรุนแรงกว่า เพราะเกิดจาก "เพดาน" หรือส่วนบนของโพรงหรือถ้ำใต้ดินถล่มลงมา หลุมยุบแบบนี้เริ่มจากการที่เพดานของโพรงถ้ำแตกร้าว (เช่น โดนแผ่นดินไหวเขย่า) โดยต่อมาเมื่อแรงดันของน้ำหรืออากาศที่อยู่ข้างในโพรงหรือถ้ำใต้ดินเกิดการเปลี่ยนแปลง ก็จะทำให้เพดานแตกหักและยุบตัวลง ทั้งนี้ก่อนยุบตัวมักจะเกิดเสียงดัง (เนื่องจากเพดานแตกร้าว) ครูศรีไพร แตงอ่อน

142 หรือบางแห่งอาจมีน้ำทะลักพุ่งขึ้นมาก่อนที่จะยุบตัวลงไป หลุมยุบแบบโพรงถล่มมักจะลึกและมีขอบสูงชันกว่าหลุมยุบแบบแรก เนื่องจากหลุมยุบแบบโพรงถล่มนี้ค่อนข้างรุนแรง ดังนั้นในพื้นที่ไหนที่กะว่าจะสร้างบ้านแปลงเมือง ก็จำเป็นต้องสำรวจว่าบริเวณใต้ดินมีโพรงถ้ำเป็นภัยแฝงเร้นอยู่หรือไม่ ครูศรีไพร แตงอ่อน

143 ส่วนหลุมยุบแบบที่สามอาจจะเกิดในบริเวณที่มีการทำเกลือโดยวิธีการสูบน้ำเกลือขึ้นมาจากใต้ดิน โพรงเกลือใต้ดินเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดหลุมยุบบนผิวดิน ในบ้านเราพบหลุมยุบแบบนี้ทางภาคอีสาน เช่น ขอนแก่นและนครราชสีมา ครูศรีไพร แตงอ่อน

144 FLORIDA หลุมยุบในเขตชนบท ที่ไม่ก่อความเสียหายมากนัก กลายเป็นหนองน้ำให้สัตว์เลี้ยงในเขตนั้นได้ใช้ประโยชน์อีกด้วย ครูศรีไพร แตงอ่อน

145 FLORIDA ปีเดียวกัน มีหลุมยุบขนาดกว้างในบริเวณลานหน้าบ้านของชาวบ้านครอบครัวหนึ่งในฟอริด้าเช่นกัน และก็มีปริมาณน้ำเติมเต็มหรือผุดขึ้นมาอย่างรวดเร็ว ครูศรีไพร แตงอ่อน

146 FLORIDA 2002 ในปีนี้ที่ฟอริด้ามีการยุบตัวอย่างรุนแรง เพราะเกิดขึ้นกลางเมืองเลยทีเดียว รูปแบบการยุบตัวโน้มเอียงไม่เป็นแนวดิ่งซะทีเดียว บ้านแทบทั้งหลังก็ว่าได้ที่ทรุดตัวลงไปด้วย จากนั้นมาไม่นานนัก ก็เกิดการยุบตัวลงบนพื้นถนน เป็นบริเวณกว้าง ทำให้รถราที่ขับผ่านไปมาเสียหาย มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก ครูศรีไพร แตงอ่อน

147 ปัจจัยการเกิดหลุมยุบ
ปัจจัยของการเกิดหลุบยุบนั้น รวมที่สำคัญๆ มีอยู่ 9 ข้อ ได้แก่ 1.ที่แห่งนั้นเป็นบริเวณที่มีหินปูนรองรับอยู่ในระดับตื้น 2. มีโพรงหรือถ้ำใต้ดิน 3. มีตะกอนดินปิดทับบาง (ไม่เกิน 50 เมตร) 4. มีการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำใต้ดิน 5. มีรอยแตกที่เพดานโพรงใต้ดิน ครูศรีไพร แตงอ่อน

148 6. ตะกอนดินที่อยู่เหนือโพรงไม่สามารถคงตัวอยู่ได้
7. มีการก่อสร้างอาคารบนพื้นดินที่มีโพรงหินปูนใต้ดินระดับตื้น 8. มีการเจาะบ่อบาดาลผ่านเพดานโพรงหินปูนใต้ดินระดับตื้น ทำให้แรงดันน้ำและอากาศภายในโพรงถ้ำเปลี่ยนแปลง 9. มีผลกระทบจากแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงเกิน 7 ริกเตอร์ ครูศรีไพร แตงอ่อน

149 ข้อมูลและภาพอ้างอิง http://www.geology.com/ www.jsg.utexas.edu
ครูศรีไพร แตงอ่อน

150 ดินถล่ม ครูศรีไพร แตงอ่อน

151 ดินถล่ม ( Landslide ) คือปรากฏการณ์ที่ส่วนของพื้นดิน ไม่ว่าจะเป็นก้อนหิน ดิน ทราย โคลน หรือเศษดิน เศษต้นไม้ ไหล เลื่อน เคลื่อน ถล่ม พังทลาย หรือหล่น ลงมาตามที่ลาดเอียง อันเนื่องมาจากแรงดึงดูดของโลก ในขณะที่สภาพส่วนประกอบของชั้นดิน ความชื้นและความชุ่มน้ำในดิน ทำให้เกิดการเสียสมดุล ดินถล่ม เป็นปรากฏการณ์ที่มีมาแต่สร้างโลก อาจเป็นเพียงเล็กน้อยเพียงก้อนหินก้อนเดียวที่ตกหรือหล่นลงมา หรือเศษของดินจำนวนไม่มากที่ไหลลงมา หรืออาจเกิดรุนแรงใหญ่โตเช่นภูเขาหรือหน้าผา หรือลาดเขาพังทลายลงมาก็ได้ และอาจเกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด หรือค่อย ๆ เป็นไปช้า ๆก็ได้ จนกว่าจะเกิดความสมดุลใหม่จึงหยุด ครูศรีไพร แตงอ่อน

152 ดินถล่ม ( Landslide ) ครูศรีไพร แตงอ่อน

153 สาเหตุของดินถล่ม (Causes of Landslides) เกิดจากการที่พื้นดินหรือส่วนของพื้นดินเคลื่อน เลื่อน ตกหล่น หรือไหล ลงมาจากที่ลาดชัน หรือลาดเอียงต่างระดับ ตามแรงดึงดูดของโลกในภาวะที่เกิดการเสียสมดุลด้วยเหตุต่าง ๆ มักพบบ่อย ๆ บริเวณภูเขาที่ลาดชัน แต่ความจริงอาจเกิดขึ้นบริเวณฝั่งแม่น้ำ และชายฝั่งทะเลหรือมหาสมุทร แม้กระทั่งใต้มหาสมุทร แบ่งสาเหคุที่อาจทำให้ดินถล่มได้เป็น ครูศรีไพร แตงอ่อน

154 ครูศรีไพร แตงอ่อน

155 1.สาเหตุตามธรรมชาติ ( Natural causes )
-    ความแข็งแรงของดิน ขึ้นอยู่กับส่วนประกอบของดิน ( Soil composition ) ว่าเป็น หิน หรือ ดิน ประเภทใด มีโครงสร้างหรือมีต้นไม้ประกอบยึดเกาะกันแข็งแรงแค่ไหน มีชั้นดินดานตื้นหรือลึกในลักษณะใด -   ที่ที่มีความลาดเอียงมาก ( Steep slope ) -   มีฝนตกมากนาน ๆ ( Prolong heavy rain ) ครูศรีไพร แตงอ่อน

156 2. สาเหตุจากมนุษย์ ( Human causes )
-  การดูดทรายจากแม่น้ำ หรือบนแผ่นดิน -  การขุดดินลึก ๆ ในการก่อสร้างห้องใต้ดินของอาคาร ครูศรีไพร แตงอ่อน

157 กระบวนการเกิดดินถล่ม
-เมื่อฝนตกหนัก น้ำจะซึมลงไปในดินอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ดินอุ้มน้ำ จนอิ่มตัว แรงยึดเกาะระหว่างมวลดินจะลดลง -ระดับน้ำใต้ผิวดินสูงขึ้นจะทำให้แรงต้านทานการเลื่อนไหล ของดินลดลง -เมื่อน้ำใต้ผิวดินมีระดับสูงก็จะไหลภายในช่องว่างของดิน ลงมาตามความชันของลาดเขา -เมื่อมีการเปลี่ยนความชัน ก็จะเกิดเป็นน้ำผุดและเป็นจุดแรกที่มี การเลื่อนไหลของดิน -เมื่อเกิดดินเลื่อนไหลแล้ว ก็จะเกิดต่อเนื่องขึ้นไปตามลาดเขา ครูศรีไพร แตงอ่อน

158 รูปแบบของดินถล่ม หินแตกไหล ดินถล่มเนื่องจากการ สร้างถนน ดินถล่มใต้น้ำ
ดินถล่มเนื่องจากการ สร้างถนน ดินถล่มใต้น้ำ หินร่วง หรือหินหล่น เศษตะกอนไหลเลื่อน ตามทางน้ำ หน้าผาผุกร่อน ตลิ่งพัง ดินถล่ม ครูศรีไพร แตงอ่อน

159 ประเภทของดินถล่ม ( Types of Landslides )
1.      การตกหล่น ( Falls ) 2.      ล้มหรือหกคะเมน ( Topple ) การคืบ - เคลื่อนไปช้า ๆ (Creep) การเลื่อน ( Slide ) 5.   การไหล ( Flows ) การเคลื่อนแผ่ออกไปด้านข้าง ( Lateral spreading ) ครูศรีไพร แตงอ่อน

160 ปัจจัยที่ทำให้เกิดดินถล่ม
** พื้นที่เป็นหินแข็งเนื้อแน่นแต่ผุง่าย    ** มีชั้นดินสะสมตัวหนาบนภูเขา   ** ภูมิประเทศที่เป็นภูเขาสูงชัน ที่ลาดเชิงเขา หุบเขาและหน้าผา   ** ป่าไม้ถูกทำลาย   ** มีฝนตกหนักต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานาน (มากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวัน)  ** ภัยธรรมชาติอื่นๆ เช่น พายุ, แผ่นดินไหว และไฟป่า ครูศรีไพร แตงอ่อน

161 ปัจจัยที่ทำให้เกิดดินถล่ม
ครูศรีไพร แตงอ่อน

162 ข้อสังเกตหรือสิ่งบอกเหตุ
- มีฝนตกหนักถึงหนักมาก (มากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวัน) - ระดับน้ำในห้วยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว - สีของน้ำเปลี่ยนเป็นสีของดินบนภูเขา - มีเสียงดัง อื้ออึง ผิดปกติดังมาจากภูเขาและลำห้วย - น้ำท่วมหมู่บ้าน และเพิ่มระดับขึ้นอย่างรวดเร็ว ครูศรีไพร แตงอ่อน

163 ข้อสังเกตลักษณะที่ตั้งของหมู่บ้านเสี่ยงภัยดินถล่ม
- อยู่ติดภูเขาและใกล้ลำห้วย - มีร่องรอยดินไหลหรือดินเลื่อนบนภูเขา - มีรอยแยกของพื้นดินบนภูเขา - อยู่บนเนินหน้าหุบเขาและเคยมีโคลนถล่มมาบ้าง - ถูกน้ำป่าไหลหลากและท่วมบ่อย - มีกองหิน เนินทรายปนโคลนและต้นไม้ ในห้วยใกล้หมู่บ้าน - พื้นห้วยจะมีก้อนหินขนาดเล็กใหญ่อยู่ปนกันตลอดท้องน้ำ ครูศรีไพร แตงอ่อน


ดาวน์โหลด ppt วิทยาศาสตร์ ว 42102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google