งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science โดย จิรวัฒน์ พรหม พร jirawat@book.co.th บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 23/03/50

2  Web of Science คืออะไร  การลงทะเบียน (Register)  การเข้าใช้ Web of Science  หน้าจอหลักของ Web of Science  วิธีการสืบค้นเอกสาร  General Search  Cited Reference Search  หน้าแสดงผลลัพธ์ (Search Results)  พิมพ์/อีเมล์/บันทึก/ดาวน์โหลดรายการบรรณานุกรม  Search History  Log out สารบัญสารบัญ

3 เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและ สาระสังเขปพร้อมการอ้างอิงและอ้างถึง ที่ ครอบคลุมสาขาวิชาหลักทั้งวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และ มนุษยศาสตร์ จากวารสาร ประมาณ 8,900 รายชื่อ ให้ข้อมูลตั้งแต่ปี 2001 - ปัจจุบัน ContentContent

4 คลิกปุ่ม Register RegisterRegister

5 พิมพ์ข้อมูลสำหรับการลงทะเบียน และคลิกปุ่ม Submit Registration RegisterRegister

6 RegisterRegister

7 HomepageHomepage คลิก หรือคลิก

8 หน้าจอหลักจะประกอบไปด้วย ปุ่มหน้าที่การทำงานและการ กำหนดเงื่อนไขต่างๆในการ ค้นหาข้อมูลซึ่งสามารถจำแนก ได้ดังนี้ 1. เลือกที่วิธีการสืบค้นข้อมูลใน ส่วน Select a search option: คลิกที่ General Search เมื่อ ต้องการค้นด้วยคำสำคัญภายใน ส่วนต่างๆเอกสาร เช่น ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง เป็นต้น หรือ คลิกที่ Cited Reference Search เมื่อ ต้องการค้นหาชื่อผู้แต่ง หรือชื่อ สิ่งพิมพ์ที่ปรากฏอยู่ในรายการ อ้างอิง หรือ คลิกที่ Author Finder เป็นการสืบค้นเพื่อค้นหา ผลงานเขียน (paper) ของ ผู้เขียนเฉพาะบุคคล 2. เลือกฐานข้อมูลที่จะใช้ในการ สืบค้น และช่วงเวลาตีพิมพ์ของ เอกสาร จากส่วน Select databases (s) and timespan 2 หน้าจอหลักของ Web of Science 1 1

9 1 การสืบค้นแบบ Author Finder พิมพ์นามสกุลในช่อง Last Name และอักษรแรกของชื่อจริงที่ First Initial เช่น o byrne p.

10 2 การสืบค้นแบบ Author Finder 2. คลิกเลือกที่นามสกุลที่ใช้ร่วมกัน แต่แตกต่างกันที่ลำดับอักษรแรกของชื่อจริง หรือ คลิก Add Another Name ถ้าผู้เขียนตีพิมพ์ภายใต้ชื่ออื่นนอกเหนือจากนี้ และคลิกปุ่ม Next

11 3 การสืบค้นแบบ Author Finder 3. คลิกเลือก Subject เพื่อกรองการสืบค้นใน Subject Category และคลิกปุ่ม Next

12 4 4 การสืบค้นแบบ Author Finder 4. คลิกเลือกสถาบันซึ่งได้มากถึง 50 สถาบันที่ผู้เขียนมีความเกี่ยวข้องอยู่ และ/หรือ คลิกปุ่ม Finish

13 1. พิมพ์คำหรือวลี ที่ต้องการใน ช่อง Topic เช่น plastic จะสืบค้น เฉพาะในเขตข้อมูลชื่อเรื่อง (Titles) คำสำคัญ (Keywords) หรือ บทคัดย่อ (Abstracts) หรือ ถ้าต้องการจำกัดการสืบค้นเฉพาะ ในชื่อเรื่องอย่างเดียวให้คลิกที่ ช่อง Title only 2. พิมพ์นามสกุลของผู้แต่ง หรือ ตามด้วยอักษรแรกของชื่อผู้แต่ง ในช่อง Author เช่น warren j 3. พิมพ์ชื่อหน่วยงานหรือองค์กร ที่เป็นผู้แต่งบทความ เช่น World Health Organization 4. พิมพ์ชื่อสิ่งพิมพ์ หรือชื่อ วารสารในช่อง Source Title 5. พิมพ์ปีที่พิมพ์หรือช่วงปีที่พิมพ์ 6. พิมพ์ชื่อหน่วยงาน/สถาบัน หรือ ที่อยู่ของผู้แต่ง 1 2 3 4 5 6 การสืบค้นแบบ General Search

14 ? แทนที่ตัวอักษร 1 ตัวอักษร เช่น Barthold? = Bartholdi หรือ Bartholdy * ละตัวอักษรตั้งแต่ศูนย์ตัวอักษรเป็นต้นไป เช่น network* = network, networks, networking bank* = banker, banking $ แทนที่ตัวอักษร 1 หรือศูนย์ตัวอักษร เหมาะสำหรับคำ ที่มีการสะกดแบบอังกฤษ หรือ อเมริกัน เช่น vapo$r = vapor และ vapour Operators & Special Characters

15 laser OR gas OR : พบคำใดคำหนึ่งหรือทั้งสองคำในเอกสาร เช่น AND : ทุกคำจะต้องปรากฏอยู่ในเอกสารเดียวกัน เช่น laser AND gas NOT : ค้นหาเอกสารที่ไม่มีคำหรือวลีที่ไม่ต้องการ เช่น laser NOT gas SAME : พบทุกคำใน Subfield เดียวกัน เช่น laser SAME gas Operators & Special Characters

16 1. สืบค้นเฉพาะภายใน รายการผลลัพธ์ปัจจุบัน เพื่อจำกัดผลลัพธ์ให้ แคบลง โดยพิมพ์คำ หรือวลี เช่น packag* และคลิกที่ปุ่ม Search 2. จำนวนผลลัพธ์ที่พบ จากสืบค้นในครั้งแรก เรียก (Set # 1) และ แสดงจำนวนรายการ บทความต่อหนึ่งหน้าจอ 3. บรรณานุกรมของแต่ ละบทความในรายการ ผลลัพธ์ คลิกที่บทความ ที่สนใจ เพื่อเข้าดู บทความโดยละเอียด 1 2 3 หน้าแสดงผลลัพธ์ของ General Search

17 4. ผลลัพธ์ที่ได้จากการ สืบค้นเฉพาะภายใน ผลลัพธ์ในครั้งก่อนหน้าจะ เป็น Set # 2 ดังตัวอย่าง 5. Sort by: การจัด เรียงลำดับรายการผลลัพธ์ ตาม Latest date: วันที่ ตีพิมพ์ล่าสุด Times Cited : จำนวนครั้ง ที่ได้รับการอ้างถึง Relevance: ตามความ เกี่ยวข้องกับคำค้น First author: ชื่อผู้แต่ง ลำดับแรก Source Title: ชื่อของ สิ่งพิมพ์ Publication Year: ปีที่ ตีพิมพ์ 4 5 หน้าแสดงผลลัพธ์ของ General Search (ต่อ)

18 6. Output Records:การจัดการกับราย บทความที่ต้องการจากในรายการผลลัพธ์ตาม Selected records on pages: เฉพาะ บทความที่เลือกไว้นั้น All records on page : บทความทั้งหมดที่พบ Records: เฉพาะช่วงลำดับของบทความที่ระบุ ระบุรูปแบบข้อมูลที่ต้องการ เช่น Bibliographic Fields เฉพาะรายการ บรรณานุกรมอย่างเดียว ระบุวิธีและรูปแบบการจัดส่งรายการบทความ เช่น พิมพ์ คลิก PRINT ส่งอีเมล์ คลิก E-MAIL บันทึกเป็นไฟล์ข้อมูล คลิก SAVE ถ่ายโอนออกไปโปรแกรม EndNote คลิก EXPORT TO REFERENCE SOFTWARE ถ่ายโอนออกไปโปรแกรม EndNote Web คลิก Save to My EndNote Web คลิกที่ปุ่ม ADD TO MARKED LIST เพื่อ จัดเก็บเฉพาะบทความที่ได้เลือก 6 หน้าแสดงผลลัพธ์ของ General Search (ต่อ)

19 ผลลัพธ์ที่ได้จากการ สืบค้นเดิม สามารถทำ การปรับปรุง หรือกรอง รายการผลลัพธ์ให้แคบ ลงได้จากปุ่ม Refine your results โดย 1. คลิกเลือกรูปแบบ ในการแสดงผล เช่น Subject Categories : แบ่งตามกลุ่มหัวเรื่อง 2. คลิกเครื่องหมายถูก หน้าหัวเรื่องที่ต้องการ 3. คลิกเลือก view records 1 2 3 หน้าแสดงผลลัพธ์ของ General Search (ต่อ)

20 ผลลัพธ์ที่ได้จากการปรับปรุงการสืบค้นเลือกตามกลุ่มหัวเรื่อง หน้าแสดงผลลัพธ์ของ General Search (ต่อ)

21 Analyze Results: Analyze Results: เป็นการวิเคราะห์จาก ผลลัพธ์ที่ได้ปัจจุบัน ซึ่ง จะเป็นประโยชน์ในการ จำแนกผลลัพธ์ที่มี จำนวนมากตามกลุ่มของ ข้อมูลที่สนใจ เช่น จำแนกตามหัวเรื่อง (Subject) สิ่งพิมพ์หรือ ชื่อวารสาร (Source Title) เป็นต้น คลิกที่ปุ่ม เพื่อทำการวิเคราะห์ ผลลัพธ์ หน้าแสดงผลลัพธ์ของ General Search (ต่อ)

22 1. เลือกเขตข้อมูลที่ใช้เป็น เกณฑ์ในการวิเคราะห์และ จำแนก ได้แก่ Author : ชื่อผู้แต่ง Country/Territory: ประเทศ Document type: ประเภทของ เอกสาร Institute Name: ชื่อสถาบัน Language: ภาษาต้นฉบับ Publication Year: ปีที่พิมพ์ Source Title: ชื่อสิ่งพิมพ์ Subject: กลุ่มหัวเรื่อง 2. Analyze: เลือกจำนวน บทความที่จะทำการวิเคราะห์ 3. Set display options: ตั้งค่า การแสดงจำนวนผลลัพธ์ และ จำนวน records ขั้นต่ำที่ให้พบ 4. Sort by: การจัดเรียงลำดับ ผลลัพธ์ 5. คลิกที่ปุ่ม เพื่อทำการวิเคราะห์ 1 2 3 4 5 หน้าผลลัพธ์จากการวิเคราะห์ผลลัพธ์: Results Analysis

23 6. ผลลัพธ์การวิเคราะห์จะจำแนก การแสดงข้อมูลตามคอลัมน์ดังนี้ Field: แสดงข้อมูลตามเขตข้อมูลที่ เลือก Record Court: แสดงเป็นจำนวน record ที่พบ % of xxx: แสดงสัดส่วนการพบ จากจำนวน Records โดยคิดเป็น เปอร์เซ็นต์ Bar Chart: แสดงเป็นผลลัพธ์เป็น แผนภูมิแท่ง 7. คลิกที่ช่องหน้ารายการผลลัพธ์ที่ ต้องการโดยสามารถเลือกได้ มากกว่าหนึ่งรายการ จากนั้น คลิก ที่ view records เพื่อแสดงข้อมูล เป็นรายการบทความ 8. คลิกที่ปุ่ม save analysis data to file เพื่อจัดเก็บข้อมูลที่วิเคราะห์ 7 8 6 หน้าผลลัพธ์จากการวิเคราะห์ผลลัพธ์: Results Analysis (ต่อ)

24 1 2 3 ในหน้าการแสดงผลลัพธ์ จะ แสดงข้อมูลที่สำคัญดังนี้ 1. ข้อมูลบรรณานุกรมของแต่ ละบทความ คลิกที่ชื่อเรื่อง เพื่อเข้าดูข้อมูลของบทความ โดยละเอียด ดังตัวอย่าง คลิกที่บทความลำดับที่ 2 2. จำนวนครั้งที่บทความนี้ ได้รับการอ้างถึง คลิกที่ ตัวเลขของ Times Cited เพื่อดูบทความที่อ้างถึง ดังเช่นตัวอย่าง คลิกที่ 19 3. คลิกที่ปุ่ม View Full Text เพื่อเชื่อมโยงไปยัง ฐานข้อมูลที่มีการบอกรับ เพื่อเข้าดูบทความฉบับเต็ม หน้าแสดงผลลัพธ์ของ General Search (ต่อ)

25 ประกอบไปด้วยข้อมูลที่สำคัญดังนี้ 1. Title : ชื่อเรื่อง 2. Author: ผู้แต่ง ซึ่งสามารถเรียกดูรายการ บทความอื่นๆที่เป็นผลงานของผู้แต่งคนนี้โดย คลิกไปที่ชื่อผู้แต่งแต่ละคน 3. Source: ชื่อสิ่งพิมพ์ 4. Document Type: ประเภทสิ่งพิมพ์ 5. Language: ภาษาต้นฉบับ 6. Cited References: สามารถคลิกเพื่อดู รายการอ้างอิงที่ใช้ 7. Time Cited: จำนวนครั้งที่ได้รับการอ้างถึง จากบทความอื่น ซึ่งสามารถคลิกเพื่อเรียกดูได้ 8. Abstract: บทคัดย่อ 9. Author Keywords: คำสำคัญของบทความ 10. Keywords Plus: คำสำคัญที่พบบ่อยจาก Title ของรายการอ้างอิง 10. Addresses: ที่อยู่ของผู้แต่ง 11. Publisher: สำนักพิมพ์ 12. Subject Category: หัวเรื่องของบทความ หน้ารายละเอียดแบบเต็ม: Full Record

26 ประกอบไปด้วย ส่วนต่างๆดังนี้ 1. บรรณานุกรม ของบทความหลัก คลิกที่ชื่อเรื่อง เพื่อ กลับไปยังหน้า Full Records ของ บทความหลัก 2. รายการอ้างอิงที่ ใช้ของบทความ หลัก 1 2 หน้ารายการอ้างอิง: Cited References

27 ประกอบไปด้วยส่วน ต่างๆดังนี้ 1. บรรณานุกรม ของบทความหลัก ที่ ได้อ้างถึงคลิกที่ชื่อ เรื่อง เพื่อกลับไปยัง หน้า Full Records ของบทความหลัก 2. จำนวนรายการ บทความที่อ้างถึง บทความหลัก ในข้อ 1 2 หน้ารายการบทความที่อ้างถึง: Citing Articles 1

28 ประกอบไปด้วยส่วน ต่างๆ ดังนี้ 1. บรรณานุกรมของ บทความหลัก คลิกที่ ชื่อเรื่อง เพื่อกลับไป ยังหน้า Full Records ของบทความหลัก 2. จำนวนรายการ บทความที่ใช้รายการ อ้างอิงเดียวกันกับ บทความหลักในข้อ 1 โดยแต่ละบทความจะ มีตัวเลขแสดงจำนวน รายการอ้างอิงเดียวกัน ในคอลัมน์ Shared Refs 2 หน้ารายการบทความที่ใช้รายการ อ้างอิงเดียวกัน : Related Records หน้ารายการบทความที่ใช้รายการ 1

29 ประกอบไปด้วยส่วนต่างๆดังนี้ 1. Cited Author: พิมพ์ นามสกุล หรือ ตามด้วยอักษร แรกของผู้แต่งที่ต้องการค้นหา เช่น warren คลิกที่ Cited author index เพื่อดูรายการ ชื่อผู้แต่ง 2. Cited Work: พิมพ์อักษร ย่อของชื่อสิ่งพิมพ์ หรือ คลิกที่ View the Thomson ISI list of journal abbreviations เพื่อตรวจอักษรย่อจากรายการ ของชื่อสิ่งพิมพ์ 3. Cited Year(s): พิมพ์ปี หรือช่วงของปีที่ตีพิมพ์ 4. คลิกที่ปุ่ม Search เพื่อ ดำเนินการสืบค้น 1 2 3 4 Cited Reference Search

30 ประกอบไปด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 1. Select: คลิกที่ช่องหน้า record ที่ ต้องการเลือกได้มากกว่าหนึ่ง และ คลิกที่ปุ่ม Finish Search เพื่อเรียกดู รายการบทความที่อ้างถึง (Citing Article) 2. Times Cited: จำนวนครั้งที่ บทความ (Record) นี้ได้รับการอ้างถึง 3. Cited Author: รายชื่อผู้แต่งที่ ได้รับการอ้างอิง 4. Cited Work: ชื่อของสิ่งพิมพ์ ซึ่ง สามารถเรียกแสดงชื่อเรื่องไปพร้อมกัน ด้วยคลิกที่ show expanded titles 5. Year: ปีที่พิมพ์ 6. Volume : เลข Volume 7. Page: เลขหน้า 8. View Record : คลิกที่ View Record ในรายการที่ปรากฏเพื่อดู ข้อมูลโดยละเอียด 1 2 3 45678 หน้าผลลัพธ์ของCited Reference Search หน้าผลลัพธ์ของ Cited Reference Search

31 Show Expanded Titles หน้าผลลัพธ์ของCited Reference Search (ต่อ) หน้าผลลัพธ์ของ Cited Reference Search (ต่อ)

32 เมื่อคลิกที่ปุ่ม Finish Search จะพบกับ รายการอ้างถึง 1. จำนวนรายการ บทความที่อ้างถึง 2. รายการ บรรณานุกรมของ บทความที่อ้างถึง (Citing Article) 3. การจัดการกับ ผลลัพธ์ที่ได้ 4. กลับไปยังหน้า แสดงรายการผลลัพธ์ ของการสืบค้น Cited Reference โดยคลิก Return to Cited Reference Index Return to Cited Reference Index 1 2 3 4 หน้าผลลัพธ์ของCited Reference Search (ต่อ) หน้าผลลัพธ์ของ Cited Reference Search (ต่อ)

33 1 2 ผู้ใช้สามารถเลือก จัดเก็บบทความที่ ต้องการเพื่อทำ การ Print, Email, Save หรือ Export ได้โดย 1. คลิกเลือกหน้า รายการที่ต้องการ 2. คลิก Add to Marked List เพื่อ จัดเก็บบทความ Marked List

34 3 3. คลิก Marked List เพื่อเรียกดูและจัดการกับรายการบทความที่จัดเก็บไว้ Marked List (ต่อ)

35 1. เลือกเขตข้อมูลที่ต้องการนำ ออก ใน Step 1 โดยคลิกที่ช่อง หน้าเขตข้อมูลที่ต้องการ 2. เลือกรูปแบบการนำข้อมูล ออกใน Step 2 ได้ดังนี้ Format For Print: เมื่อต้องการ สั่งพิมพ์รายการข้อมูล Save To File: เมื่อต้องการ จัดเก็บรายการข้อมูลในรูปแบบ ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ Export To Reference Software: เมื่อต้องการถ่ายโอน รายการข้อมูลไปยังซอฟแวร์ จัดการบรรณานุกรม เช่น EndNote Email Records: จัดส่งรายการ ข้อมูลไปทางอีเมล์ 3. คลิกไปที่ปุ่ม Return เพื่อ กลับไปยังหน้าที่แล้ว 1 2 3 หน้าการจัดการกับผลลัพธ์ใน Marked Records

36 การจัดการผลลัพธ์สามารถทำได้จาก หน้าแสดงผลลัพธ์ในทุกรูปแบบของ การสืบค้นที่ปรากฏช่อง Output Records: 1. การกำหนดรายการบทความที่ ต้องการตามรายละเอียดใน Slide ก่อน 2. กำหนดรูปแบบข้อมูลที่ต้องการ โดยคลิกเรียกดูเมนูเพื่อเลือกรูปแบบ 3. เลือกรูปแบบการจัดการส่งรายการ บทความได้แก่ สั่งพิมพ์ ส่งอีเมล์ บันทึกเป็นไฟล์ข้อมูล ถ่ายโอนไปโปรแกรม EndNote ถ่ายโอนไปโปรแกรม EndNote Web Print / E-mail / Save /Export to Reference Software 1 2 3

37 Print / Save

38 E-mailE-mail

39 Search History

40 เลิกใช้งานทุกครั้งให้คลิกที่ปุ่ม LOG OUT Log Out

41


ดาวน์โหลด ppt การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google