งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Learning Assessment and Evaluation

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Learning Assessment and Evaluation"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Learning Assessment and Evaluation
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ Learning Assessment and Evaluation ดร. อาภาพรรณ ประทุมไทย วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

2 ดร. อาภาพรรณ ประทุมไทย วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา
แนะนำรายวิชา การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดร. อาภาพรรณ ประทุมไทย วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

3 คำอธิบายรายวิชา การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
หลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติในการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน การสร้างและการใช้ เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รูปแบบการ ประเมิน การปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน Principles, concepts and practice in learning assessment and evaluation of the learners, building and using tools for assessment and evaluation, assessment models, learning assessment and evaluation implement, assessment using for learners development รหัสวิชา จำนวนหน่วยกิต 3 (2-2-5)

4 จุดมุ่งหมายของรายวิชา
หลังจากการเรียนรายวิชานี้แล้วนิสิตควรมีสมรรถภาพ ดังนี้ 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติในการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน 2. สามารถสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้ 3. สามารถวิเคราะห์หาคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้ 4. สามารถตรวจให้คะแนนและตัดสินผลการเรียนรู้ได้ 5. สามารถประยุกต์ใช้หลักการวัดและประเมินผล และเลือกใช้เครื่องมือวัดและ ประเมินผลในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนได้

5 แผนการสอน สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหาบทเรียน เปิดเรียน
15-18 ส.ค. 60 แนะนำรายวิชา 1 21-25 ส.ค. 60 บทที่ 1 หลักการ ทฤษฎี และแนวทางในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 2 28-31 ส.ค. และ 1 ก.ย. 60 บทที่ 2 รูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3 4-8 ก.ย. 60 บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลบทที่ 4 การสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์ 4 11-15 ก.ย. 60 บทที่ 5 การตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบ บทที่ 6 คลังข้อสอบ 5 18-22 ก.ย. 60 บทที่ 4 (ภาคปฏิบัติ) - ปฏิบัติการสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร, สร้างข้อสอบ 6 25-29 ก.ย. 60 บทที่ 5-6 (ภาคปฏิบัติ) - ปฏิบัติการจำลองสถานการณ์การสอบ 7 2-6 ต.ค. 60 (ภาคปฏิบัติ-ต่อ) - การวิเคราะห์คุณภาพแบบสอบและข้อสอบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ TAP

6 แผนการสอน สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหาบทเรียน 8 7-15 ต.ค. 60
สอบกลางภาค 9 16-20 ต.ค. 60 บทที่ 7 การประเมินจิตพิสัย 10 23-27 ต.ค. 60 บทที่ 7 (ภาคปฏิบัติ) - ปฏิบัติการสร้างเครื่องมือประเมินจิตพิสัย 11 30-31 ต.ค. และ 1-3 พ.ย. 60 (ภาคปฏิบัติ-ต่อ) - นำเสนอผลการสร้างเครื่องมือประเมินจิตพิสัย 12 6-10 พ.ย. 60 บทที่ 8 การประเมินทักษะพิสัย 13 13-17 พ.ย. 60 บทที่ 8 (ภาคปฏิบัติ) - ปฏิบัติการสร้างเครื่องมือประเมินตามสภาพจริง, การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน, การประเมินภาคปฏิบัติ 14 20-24 พ.ย. 60 - นำเสนอผลการสร้างเครื่องมือประเมินทักษะพิสัย 15 27-30 พ.ย. และ 1 ธ.ค. 60 บทที่ 9 การตัดสินผลการเรียนรู้ 16 4-8 ธ.ค. 60 บทที่ 10 การนำผลการประเมินไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ 17 12-22 ธ.ค. 60 สอบปลายภาค

7 กิจกรรมการเรียนการสอน
วิธีการสอน 1. บรรยาย อธิบาย ร่วมกันอภิปราย และตอบข้อซักถาม 2. ทำแบบฝึกหัด, แบบทดสอบ 3. มอบหมายงานเดี่ยว/งานกลุ่ม กิจกรรม 1. การเข้าชั้นเรียน 2. ร่วมปฏิบัติงานกิจกรรมในชั้นเรียน,กิจกรรมกลุ่ม, นำเสนอผลงานของตนเองและกลุ่ม 3. ศึกษากรณีตัวอย่าง ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 4. ประเมินผลงานของตนเองและเพื่อน

8 วิธีการประเมินผล วิธีประเมินผล ลักษณะกิจกรรม การเข้าเรียนและมีส่วนร่วม
ตรวจสอบการเข้าเรียนการมีส่วนร่วมจากการเช็คชื่อ และการตอบคำถามสั้นๆ (Quiz) เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจ การประเมินการนำเสนอ ให้นําเสนอข้อมูลในห้องเรียน ตรวจสอบความรู้ความสามารถของผู้นําเสนอ รวมทั้งความสามารถในการนําเสนอ ประเมินผลงาน ตรวจสอบความรู้ความสามารถของเจ้าของผลงาน คุณภาพและความถูกต้องของงาน ความตรงต่อเวลาในการส่งงาน สอบข้อเขียน การตอบแบบทดสอบ (อัตนัย ปรนัย) สอบปฏิบัติ (ตอบคําถาม) ให้ตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับการเรียนภาคปฏิบัติ (อาจรวมถึงทักษะทางความรู้ และทักษะทางปัญญาร่วมด้วย) สอบปฏิบัติ (ทดสอบการปฏิบัติ) พิจารณาความสามารถในการปฏิบัติงาน การวางแผน ผลงาน การวิเคราะห์ผลงาน สังเกตการทํางานกลุ่ม สังเกตพฤติกรรมของสมาชิกกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทํางานด้วยกัน

9 สัดส่วนของการวัดและประเมินผลการเรียน สัดส่วนของการประเมินผล
วิธีการประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล 1. การประเมินความรู้ทางวิชาการ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 20 % 30 % 2. การประเมินการทำงาน, กิจกรรมในชั้นเรียน, การสอบเก็บคะแนน - การอภิปรายกลุ่ม, การตอบข้อซักถาม และการสรุปองค์ความรู้ 10 % 3. การประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย งานกลุ่ม (30%) 3.1) การฝึกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย - การนำเสนอและรายงานผลการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ 3.2) การฝึกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลด้านจิตพิสัย - การนำเสนอผลการสร้างเครื่องมือประเมินจิตพิสัย 3.3) การฝึกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลด้านทักษะพิสัย - การนำเสนอผลการสร้างเครื่องมือประเมินทักษะพิสัย 4. จิตพิสัย (การเข้าชั้นเรียน, การส่งงานตามกำหนด, บุคลิกภาพความเป็นครู) รวม 100 %

10 การตัดเกรด : ประเมินผลอิงเกณฑ์แบบ Letter Grade (A, B+, B, C+, C, D+, D, F)

11 ภาระงานที่กำหนด 1 การฝึกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย 1. ให้นิสิตแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน 2. ออกข้อสอบจำนวน 15 ข้อ 5 ตัวเลือก ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดังนี้ (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 5 วันที่ ก.ย. 2560) - หลักการ ทฤษฎี และแนวทางในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ - รูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ - การออกแบบและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ - การสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์ - การตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบและข้อสอบ - คลังข้อสอบ โดยระบุระดับพฤติกรรมการวัด 6 ระดับ ในวงเล็บต่อท้ายข้อคำถาม เพื่อทำการสอบในคาบเรียนครั้งถัดไป 3. จำลองสถานการณ์การสอบ (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 6 วันที่ ก.ย. 2560) - นิสิตแต่ละกลุ่มส่งต้นฉบับพร้อมเฉลยให้อาจารย์ผู้สอน - แต่ละกลุ่มจัดดำเนินการบริหารการทดสอบให้เป็นตามที่กำหนด 4. ดำเนินการวิเคราะห์คุณภาพแบบสอบและข้อสอบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ TAP (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 7 วันที่ 2-6 ต.ค. 2560) จากนั้น ส่งเล่มรายงานผลการวิเคราะห์และแปลผลฉบับสมบูรณ์ ภายในวันที่15 ต.ค. 2560

12 ภาระงานที่กำหนด 2 การฝึกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลด้านจิตพิสัย 1. ให้นิสิตแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน 2. นำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาที่นิสิตแต่ละคนสนใจมานำเสนอภายในกลุ่ม 3. ดำเนินการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย ในรูปแบบที่สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ที่แต่ละกลุ่มสนใจ อย่างน้อยกลุ่มละ 3 รูปแบบ (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 10 วันที่ ต.ค. 2560) 4. นำเสนอชุดเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านจิตพิสัยที่แต่ละกลุ่มสร้างขึ้น (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 11 วันที่ ต.ค. และ 1-3 พ.ย. 2560) พร้อมทั้งส่งเล่มรายงานชุดเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย

13 ภาระงานที่กำหนด 3 การฝึกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลด้านทักษะพิสัย 1. ให้นิสิตแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน 2. นำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาที่นิสิตแต่ละคนสนใจมานำเสนอภายในกลุ่ม 3. ดำเนินการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ในรูปแบบที่สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ที่แต่ละกลุ่มสนใจ อย่างน้อยกลุ่มละ 3 รูปแบบ (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 13 วันที่ พ.ย. 2560) 4. นำเสนอชุดเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยที่แต่ละกลุ่มสร้างขึ้น (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 14 วันที่ พ.ย. 2560) พร้อมทั้งส่งเล่มรายงานชุดเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย

14 ตำราและเอกสารหลัก เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี. (2552). การวัดผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์ (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. โชติกา ภาษีผล, ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง และ กมลวรรณ ตังธนกานนท์. (2558). การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2551). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มีสท์. ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง. (2551) เอกสารประกอบการสอนวิชา การวัดและประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศิริชัย กาญจนวาสี. (2552). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

15 เอกสารและข้อมูลแนะนำ
ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์. (2548). เอกสารประกอบการสอนวิชา ทฤษฎีการวัดและการทดสอบ. สงขลา: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. บุญชม ศรีสะอาด. (2540). การวิจัยทางการวัดผลและประเมินผล. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. พิสณุ ฟองศรี. (2552ค). การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัย. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์. พิสณุ ฟองศรี. (2551ก). การประเมินทางการศึกษา : แนวคิดสู่การปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์. พิสณุ ฟองศรี. (2551ข). เทคนิควิธีประเมินโครงการ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธา- การพิมพ์. รัตนะ บัวสนธ์. (2550). ทิศทางและอาณาบริเวณการประเมิน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วี พริ้นท์. สมคิด พรมจุ้ย. (2552). เทคนิคการประเมินโครงการ (พิมพ์ครั้งที่ 6). นนทบุรี: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

16 ติดต่อผู้สอน 1 เบอร์โทรศัพท์ 089-6271219 2 ห้องทำงาน
ห้องพักอาจารย์วิทยาลัยการศึกษา ห้องที่ 2 ชั้น 2 อาคารเรียนรวมหลังเก่า 3 Line 4 ID line: offza1624


ดาวน์โหลด ppt Learning Assessment and Evaluation

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google