งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

2 ประเด็นการนำเสนอ แนวคิดการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
การเพิ่มขีดสมรรถนะของสำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)

3 การบริหารงานจังหวัดแบบบูรณการ ประโยชน์สุขของประชาชน
ที่มา แนวคิด ประโยชน์สุขของประชาชน : รัฐบาลมีนโยบายที่จะสร้างประสิทธิภาพการบริหารงานจังหวัด (มติ ครม. 7 ส.ค. 2544) : ปรับระบบงานจากการมุ่งเน้นปฏิบัติตามคำสั่งเป็นหน่วยงานบริหารเชิงยุทธศาสตร์ : การจัดระบบการบริหารงานจังหวัด : บริหารจัดการแนวราบ : ยึดหลักการบูรณาการ A F P : ปรับบทบาทของผู้ว่าราชการจังหวัด : ผู้นำเชิงยุทธศาสตร์ : ผู้ประสาน สนับสนุน : ในฐานะผู้ปฏิบัติ กำหนดและ วางยุทธศาสตร์ บริหารจัด การข้อมูล สร้างทีมงานและ การดำเนินงาน ติดตามประเมินผล Strategy Management Change Management Risk Management Time Management Knowledge Management

4 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550
เจตนารมณ์ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 และ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 ยึดพื้นที่ Area-based Approach การพัฒนา Development Model ความร่วมมือ Collaboration/ Joined-Up Government การจัดการที่ดี Governance Model การกระจาย (Distribution) การพัฒนาและลดความ เหลื่อมล้ำความเจริญเติบโตระหว่างพื้นที่ต่างๆ (18 กลุ่มจังหวัดและ 75 จังหวัด) ความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness) กลุ่มจังหวัดเน้นยุทธศาสตร์การแข่งขันโดยความ ร่วมมือของจังหวัดในกลุ่ม ส่วนจังหวัดเน้น ยุทธศาสตร์พัฒนาสังคม รวมถึงการสร้างโอกาสและ อาชีพ การกำหนดตำแหน่งการพัฒนา (Positioning) ที่ ชัดเจน บนพื้นฐานของศักยภาพของพื้นที่และความ ต้องการของประชาชน การจัดการความสัมพันธ์แนวดิ่งระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น แบ่งหน้าที่กันทำตามแต่ละยุทธศาสตร์ (ปรึกษาหารือและทำข้อตกลงร่วมกัน) ลดความซ้ำซ้อนของการใช้งบประมาณ แผ่นดิน ใช้ทรัพยากรร่วมกันให้เกิดประโยชน์ สูงสุดในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การจัดการความสัมพันธ์แนวนอนระหว่างภาครัฐและ ภาคส่วนอื่นในสังคม (ภาคเอกชน และภาคประชา สังคม) ประสานการลงทุนภาคเอกชน และเชื่อมโยง เข้ากับแผนชุมชน การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน กำหนดให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นตัว linkage ฝ่าย ต่างๆ เข้าด้วยกัน 4 4 4 4

5 แนวทางการแบ่งบทบาทโครงการพัฒนาเชื่อมโยงประเทศ-กลุ่มจังหวัด-จังหวัด
โครงการของกระทรวง/กรม พื้นที่เป้าหมาย ของยุทธศาสตร์ เบื้องต้น ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 : การค้าชายแดน และความสัมพันธ์ กับประเทศเพื่อนบ้าน โครงการลงทุนในอุตสาหกรรมในภาคอีสานตอนบน 11 จังหวัด โครงการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประเทสเพื่อนบ้านทั้งระดับรัฐบาล ประชาชน และสื่อมวลชน ประเทศ/ส่วนกลาง โครงการของกลุ่มจังหวัด 1. จัดทำเป็นคำของบประมาณกลุ่มจังหวัด โครงการของกลุ่มจังหวัด ที่ขอรับการสนับสนุนจากกระทรวง/กรม 1.โครงการสร้างทางรถไฟเชื่อมโยงภาคและกลุ่มจังหวัด 2.โครงการพัฒนาระบบศูนย์ตรวจปล่อยรถบรรทุกสินค้าขาออกให้เป็นที่สาธารณะ 3. โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางด้านการลงทุนคลังสินค้าทัณฑ์บนในประเทศเพื่อนบ้าน 4.โครงการจัดตั้งแหล่งทุน และการให้บริการด้านการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านต่อผู้ประกอบการในกลุ่มจังหวัด 5.โครงการศึกษาเชิงลึกประเทศเพื่อนบ้านเพื่อเชื่อมโยงสะพานการค้าแห่งที่ 2, 3 6.โครงการความร่วมมือทางด้านการศึกษาระหว่างนักศึกษาไทย-ลาว-เวียดนาม 1.โครงการพัฒนาเขตปลอดอากร (Duty Free) ของกลุ่มจังหวัด 2.โครงการพัฒนากิจกรรมทางด้านการตลาดการค้าชายแดน 3. โครงการผู้ผลิตชุมชนกลุ่มจังหวัดพบผู้ประกอบการอินโดจีน 4. โครงการ Roadshow ของดีมีคุณค่ากลุ่มสนุก 5.โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางด้านการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน 6.โครงการส่งเสริมวัฒนธรรมร่วมกับเมืองเพื่อนมิตร 7.โครงการจัดตั้งหน่วยงานความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน 8.โครงการพัฒนาผู้ประกอบการท้องถิ่นทางด้านการค้าชายแดน กลุ่มจังหวัด โครงการของจังหวัดที่จัดทำเป็นคำของบประมาณของจังหวัด โครงการของกลุ่มจังหวัดทำใน พท.จว. 2. จัดทำเป็นคำของบประมาณจังหวัด โครงการของจังหวัดที่ขอรับการสนับสนุนจากกระทรวง/กรม กรณีจังหวัดมุกดาหาร 1. โครงการพัฒนาศักยภาพชุด ชรบ. หมู่บ้านตามแนวชายแดน 2. โครงการจัดตั้งและฝึกอบรมตำรวจอาสารักษาหมู่บ้านตามแนวชายแดน กรณีจังหวัดสกลนคร …… กรณีจังหวัดนครพนม กรณีจังหวัดมุกดาหาร โครงการประสานความร่วมมือด้านการเกษตรระหว่างเมืองคู่แฝด(มุกดาหาร-สะหวันเขต) ภายใต้กรอบ ACMECS …… กรณีจังหวัดสกลนคร กรณีจังหวัดนครพนม จังหวัด 1. โครงการศึกษาการพัฒนา/ปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ศูนย์กระจายสินค้า (ที่จ.มุกดาหาร เพื่อการใช้งานร่วมกันของกลุ่มจังหวัด) 2. โครงการจัดตั้งศูนย์ Export Center 3. โครงการจัดตั้ง Information Center (Trade & Investment) ระดับ ยุทธศาสตร์ 5 จังหวัด กลุ่มจังหวัด ประเทศ/ส่วนกลาง

6 ตัวอย่าง กลุ่มจังหวัด
ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว (กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ) Value Chains พัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการ ท่องเที่ยวและ อุตสาหกรรม ใกล้เคียง การควบคุม มาตรฐานอยู่ใน เกณฑ์ Eco- Destination พัฒนา ด้านการตลาดและ ประชาสัมพันธ์ พัฒนาระบบ สิทธิประโยชน์ ให้เกิดการลงทุน จากต่างประเทศ พัฒนา แหล่งท่องเที่ยว พัฒนา ระบบคมนาคม กระทรวง/กรม โครงการปรับปรุง ระบบนิเวศชายฝั่ง (กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม) โครงการสร้างเพิ่ม ช่องทางจราจรทางหลวง เพื่อเชื่อมโยงสู่อินโดจีน (กระทรวงคมนาคม) โครงการส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (กระทรววงการท่องเที่ยว และกีฬา) โครงการปรับปรุงและ พัฒนาศูนย์รับแจ้งเหตุและ ให้บริการนักท่องเที่ยว (กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา) โครงการส่งเสริมการ ลงทุนภาคธุรกิจ ท่องเที่ยว (BOI) กลุ่มจังหวัด โครงการพัฒนา บุคลากรและ ผู้ประกอบการ ด้านการท่องเที่ยว โครงการพัฒนาระบบ ความปลอดภัยและการให้ บริการประชาชน เมื่อมีเหตุฉุกเฉิน จังหวัด โครงการท่องเที่ยว เกษตรเชิงอนุรักษ์ (จ.ชลบุรี) โครงการจัดงานประเพณี ประจำปี (จ.ตราด) โครงการฝึกอบรม อาสาสมัครดำน้ำเพื่อ ช่วยเหลือผู้ประสบภัย (จ.ชลบุรี) โครงการยุวมัคคุเทศก์ (จ.จันทบุรี) ท้องถิ่น โครงการปรับปรุง ทัศนียภาพเพื่อส่งเสริม การท่องเที่ยวและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม โครงการก่อสร้าง ท่าเทียบเรือขนาดเล็ก ชุมชน โครงการหมู่บ้าน OTOP เอกชน โครงการสร้าง แหล่งท่องเที่ยวทางเลือก (Spa, Zoo) 6 6 6 6

7 การกำหนด Positioning ของแผนพัฒนาจังหวัด
W O T T O Ls VISION MISSION OBJECTIVE Strategic Issues Positioning Strategic Issue Strategic Issue Strategic Issue 1 2 3 เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง การบริหารจัดการ 7

8 ความแข็งแกร่งและโดดเด่นของแต่ละยุทธศาสตร์
การวางตำแหน่งการพัฒนา (Positioning) ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด การวางตำแหน่งการพัฒนา (Positioning) ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาหรือนโยบายของชาติ ความแข็งแกร่งและโดดเด่นของแต่ละยุทธศาสตร์ ด้านเศรษฐกิจ Global Regional Local Potential สูง : ระดับนโยบายกับพื้นที่มีความสอดคล้องกัน : การมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการบริหารจัดการ เกษตร การท่องเที่ยว โอกาสในการเติบโตของแต่ละยุทธศาสตร์ การค้าชายแดน มาก น้อย 8

9 ประเด็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด (ที่ทบทวนใหม่)
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน2 การค้า การลงทุน การเกษตรอุตสาหกรรม 10. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนบน1 การค้าชายแดน การผลิต และการค้า สินค้าการเกษตร 11. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนบน2 การค้าชายแดน การท่องเที่ยว 17. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง1 การค้า บริการ และเครือข่ายคมนาคม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ประวิติศาสตร์ และวัฒนธรรม กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน1 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมล้านนา การค้า การลงทุน และเระบบ Logistics เชื่อมโยงกลุ่มประเทศ GMS 12. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนกลาง การผลิตด้านเกษตร การลงทุนด้านอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร 18. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง2 การผลิตข้าว อ้อย และมันสำประหลัง การแปรรูปข้าว อ้อย และมันสำประหลัง 13. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนล่าง1 เกษตรอินทรีย์ แข่งขันด้านเศรษฐกิจ 1. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรม 14. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือล่าง2 ข้าวหอมมะลิ การท่องเทียว กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 การผลิตอาหารปลอดภัย เชื่อมโยงการกระจายสินค้า 9. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก การท่องเที่ยว การผลิต แปรรูป และการตลาดผลไม้ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง การเกษตร การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 4. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 การผลิตและส่งออก การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กลุ่มจังหวัด ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ยางพารา ปาล์มน้ำมัน 5. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 สินค้าประมง เกษตรและเหล็ก การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และ เส้นทางคมนาคมสู่ภาคใต้ กลุ่มจังหวัด ภาคใต้ฝั่งอันดามัน การท่องเที่ยวทางทะเล กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน สนันสนุนภาคการผลิตเป็นไปอย่างปกติ เทคโนโลยีการผลิต บริหารจัดการ ตลาดเพื่อการส่งออก 9 9

10 การขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
R & D Outsourcing Integration ความรู้ ความเข้าใจ การกำหนดและจัดตั้งองค์กรในการทำงาน การจัด ทำแผน การดำเนินงานและติดตามผล Results  เข้าใจเจตนารมณ์  ก.บ.จ. / ก.บ.ก.  จัดทำยุทธศาสตร์/แผน ดำเนินโครงการและ การติดตามประเมินผล  ระดมความคิด มีวิธีการ  พรฎ.ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัด/กลุ่มจังหวัด Outsourcing คนมาร่วมคิด  Positioning ชัดเจน การพัฒนาระบบงาน และขีดความสามารถ บุคคลากร  ทิศทางการพัฒนา ระดับชาติ  คณะอนุกรรมการ - จัดทำแผน - กลั่นกรอง - งบประมาณ - กพอ. โครงการเหมาะสม ตามขีดความสามารถ ปัญหาความต้องการ ของประชาชน ทำงานไม่แยกส่วน 10

11 แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด (ต่อ)
ยุทธศาสตร์และ ทิศทางการพัฒนาระดับชาติ Global Reach แผนพัฒนาระดับภาค และกลุ่มจังหวัด Regional Link การมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วน จังหวัดเป็นองค์กรที่มี สมรรถนะเชิงยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์การ พัฒนาจังหวัด 1. การกำหนดทิศทาง การพัฒนา Formulation 4. แผนปฏิบัติการ 2. กำหนดแผน การลงทุน 3. แผนความร่วมมือ Implementation Local Link ปัญหาความต้องการ ของประชาชน ศักยภาพการ พัฒนาของจังหวัด โอกาสการ พัฒนา 11 11

12 กระบวนการสร้างความร่วมมือ การทำงานของส่วนราชการ ในจังหวัด
การทำงานของส่วนราชการ ในจังหวัด ทิศทางการ พัฒนาและนโยบาย ส่วนกลาง แผนงาน/โครงการ การมีส่วนร่วม ในแผนพัฒนา จังหวัด งบ Function ผู้แทน ส่วนราชการ งบจังหวัด สภาพปัญหา ในพื้นที่ Matching/ Collaboration Plan งบ อปท. 12

13 การบริหารงานจังหวัดมีความซับซ้อนหลายมิติ
กระบวนการสร้างความร่วมมือ (ต่อ) การบริหารงานจังหวัดมีความซับซ้อนหลายมิติ Top-Down Bottom-Up Global Local Centralization Proximity Vision Action Modernization Grass root Macro Micro Competition Cooperation 13 13

14 1. การนำรูปแบบและหลักการไปสู่การบริหารจัดการ
ข้อคิดเห็นต่อการวางแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 1. การนำรูปแบบและหลักการไปสู่การบริหารจัดการ Development Model Management Model : Area-Based Approach : Collaboration/ Joined-up : A F P : Positioning : ความสัมพันธ์ของ แต่ละมิติในการ พัฒนา : การจัดการความ สัมพันธ์ทุกระดับ & Networking : Integrated ทุก ภาคส่วน : ผู้ว่าราชการจังหวัด/ หน.กลุ่มจังหวัด Linkage Strategic Plan Strategic Management 14

15 เครื่องมือในการวิเคราะห์ตำแหน่งของธุรกิจและการสร้างขีดความสามารถทางการแข่งขัน
Five Forces Model; Michael E. Porter BCG Model- Growth Share Matrix อำนาจต่อรองของผู้ส่งมอบ Star ?? High ภัยคุกคามจากผู้เข้าใหม่ ระดับการแข่งขันในอุตสาหกรรมเดียวกัน ภัยคุกคามจากสินค้าทดแทน อัตราการเติบโตของตลาด Cow Dog อำนาจต่อ รองของลูกค้า Low หลักการ Five Forces Analysis จัดเป็นโครงสร้างหลัก ที่ใช้วิเคราะห์อุตสาหกรรมและการพัฒนาด้านกลยุทธ์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดความสามารถในการแข่งขัน ในตลาด โดยการวิเคราะห์จากปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ พฤติกรรมองค์กร การให้บริการลูกค้า การสร้างผลกำไร ของบริษัท และความสามารถในการแข่งขันในตลาดโดยตรง High Low ส่วนแบ่งการตลาดเชิงเปรียบเทียบ 15

16 ขับเคลื่อนการพัฒนาด้วยแผนยุทธศาสตร์ (Master Plan)
: การวางแผนยุทธศาสตร์ให้สอดคล้องกับ สภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง E S C E1 S1 C1 16

17 การบริหารจัดการแบบ Clustering
: ขาดยุทธศาสตร์ : สร้าง Value Chain & Value Creation Integration A B C D Results

18 ยุทธศาสตร์การทำงาน พันธมิตรด้านธุรกิจ (Alliance Strategy) Benchmarking Bonsai – Growth Strategy Buzz Strategy Clustering Strategy Core Competency] etc. 1 2 3 4 5 6

19 บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานหลักในกระบวนการบริหารยุทธศาสตร์
บทบาทด้านกระบวนการบริหารยุทธศาสตร์ การวางแผนยุทธศาสตร์ การผลักดันยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ ติดตาม/ ประเมินผล ก.น.จ. กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ วิธีการ ให้ความเห็นชอบในแผนพัฒนา แผนปฏิบัติการ ก.บ.ก. จัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด นำเสนอแผนและคำขอต่อ ก.น.จ. ติดตาม ประเมินผล ก.บ.จ. จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด Integrated Central Committer (ICC) สนับสนุนเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์และงบประมาณ (AFP) กลั่นกรองให้ข้อคิดเห็น : ผู้ว่าราชการจังหวัด : หน.กลุ่มจังหวัด (บูรณาการ สนับสนุน การดำเนินงาน การกำกับดูแล) OSM เป็นองค์กรขับเคลื่อนทางยุทธศาสตร์และการบริหารจัดการของกลุ่มจังหวัด สนง.จว เป็นองค์กรบูรณาการการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของ จังหวัดและประสานความร่วมมือการดำเนินงานในพื้นที่ 19

20 การเพิ่มขีดสมรรถนะ David McChelland : Harward University
Skill Knowledge สังเกตุได้ ส่วนที่ซ่อนเร้น Social role Self Image Motive David McChelland : Harward University “ทำไมคนที่ทำงานในตำแหน่งเดียวกันจึงมีผลงานแตกต่างกัน?”

21 ผลการปฏิบัติหน้าที่ดีเลิศ
การเพิ่มขีดสมรรถนะ : Vision : Mission : Core Values Strategy Achievement ผลการปฏิบัติหน้าที่ดีเลิศ Organization Competency Human Competency Competency : พฤติกรรมซึ่งแสดงออก : ใช้ความรู้ ทักษะ : ใช้บทบาทหน้าที่ (Social Roles)

22 ความเข้าใจในทิศทาง นโยบาย และกลยุทธ์ระดับชาติ
กรณีตัวอย่าง : ททท. 1. IT & Online 2. Branding - Authentic City - Nice Life - Friendly Local - Shopping - Value for money 3. การท่องเที่ยวยั่งยืน - สร้างจิตสำนึก 4. บริหารองค์กรสมัยใหม่ - Competitiveness - Green office

23 SWOT Analysis S S - O Matrix ภายใน W W - O Environment S - T O ภายนอก T W - T

24 แนวคิดในการบริหาร Parkinson’s Law : C. Northcote Parkinson
“ตราบใดที่ยังมีเวลาในการดำเนินงานให้เสร็จสิ้นก็ย่อมมีการดึงงาน”

25 แนวคิดในการบริหาร “บริษัทใดก็ตามที่ไม่สามารถจินตนาการถึงอนาคตได้ ในอนาคตบริษัทนั้นจะไม่สามารถดำรงอยู่ได้เช่นกัน” แกรี ฮาเบล & ซี.เค พราฮาสาด

26 “การบริหารเชิงกลยุทธ์
แนวคิดในการบริหาร “การบริหารเชิงกลยุทธ์ เป็นกระบวนการที่เบ็ดเสร็จ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ และ วินิจฉัยกลยุทธ์ จากนั้นก็เป็นการกำหนดทิศทางขององค์กร ผ่านขั้นตอนต่างๆ ทีละขั้นจนนำไปสู่การผลิตสินค้าใหม่ การหาตลาดใหม่ การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ รวมถึงการสร้างขีดความสามารถใหม่ๆ ด้วย” -- อิกอร์ แอนซอฟฟ์ --

27 แนวคิดในการบริหาร The Mckinsey Seven-S Model

28 แนวคิดในการบริหาร Toyota Model : TQM ระบบการผลิตรถยนต์โตโยต้า Just-in-time production ความรับผิดชอบเรื่องคุณภาพ Value chain : บริษัท คือ สายธารแห่งคุณค่า รวมถึง Suppler และลูกค้าบริษัท

29 การพัฒนาโครงการ Flagship Quick win Best practice

30 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แนวใหม่
“การเอื้ออำนาจความรับผิดชอบให้ผู้อื่น ไม่ได้ทำให้ผู้นำมีอำนาจลดลง ตรงกันข้าม อาจเป็นการเพิ่มอำนาจของผู้นำก็ได้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากการเอื้ออำนาจให้ผู้อื่นนั้นทำให้องค์กรมีผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น” โรซาเบท มอสส์ แคนเตอร์

31 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แนวใหม่
“ความปรารถนาที่จะทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี เป็นสัญชาตญาณแห่งการสมาคมของมนุษย์ ซึ่งมักจะมีความสำคัญเหนือกว่าผลประโยชน์ส่วนตนและการให้เหตุผลเชิงตรรกะอันเป็นพื้นฐานของหลักการจัดการจำนวนมากที่มีความคลาดเคลื่อน” เอลตัน เมโย

32 การแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิผล ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการวางแผนกลยุทธ์ จะต้อง
- ยอมรับว่าความไม่แน่นอนคือ ความเป็นจริงประการหนึ่งของชีวิตทางธุรกิจ - เปิดหูเปิดตามองไปนอกองค์กรอยู่เสมอ เพื่อเรียนรู้บทเรียนต่าง ๆ และปรับปรุงประสิทธิผลขององค์กรอยู่ตลอดเวลา - เรียนรู้จากความผิดพลาดและความสำเร็จในอดีต - ใช้ภาพพจน์ที่แปลกใหม่ไปจากธรรมเนียมปฏิบัติแบบเดิม ๆ เพื่อสื่อสารการริเริ่มใหม่ ๆ ในเชิงกลยุทธ์ - จัดทำเอกสารที่มีความกระชับ แต่สื่อข้อมูลเชิงกลยุทธ์ได้อย่างครบถ้วน

33 การแปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิผล ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการวางแผนกลยุทธ์ จะต้อง
- มองกลยุทธ์เป็นเครื่องมือหนึ่งในการดำเนินงานทางธุรกิจ - ไม่ยอมให้แนวคิดที่มีอยู่เดิมแทรกแซงการตีความที่ซื่อตรงและปราศจากอคติ - อย่าวางใจในมติเอกฉันท์ที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน (แสดงถึงความไม่รอบคอบ) - ต้องเชื่อมั่นกับความรู้สึกแรงกล้าที่มีและกล้าเสี่ยง - อย่าทึกทักเรื่องใดว่าเป็นจริงโดยปราศจากข้อมูลและหลักฐาน - ทำลายอุปสรรคขัดขวางต่าง ๆ - ดึงทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม - คำนึงถึงและมุ่งเน้นอนาคตเสมอ

34 ประเด็นที่อยากเห็นใน OSM
2. ความร่วมมือ องค์การแห่งการเรียนรู้ กลุ่มจังหวัด Functions จังหวัด จังหวัด จังหวัด ระบบข้อมูล 3. การเตรียมการ ยุทธศาสตร์ โครงการ แผนที่ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร

35 โทร


ดาวน์โหลด ppt การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google