งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประจำแผนกสิทธิกำลังพล กสป.สบป.สบ.ทหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประจำแผนกสิทธิกำลังพล กสป.สบป.สบ.ทหาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประจำแผนกสิทธิกำลังพล กสป.สบป.สบ.ทหาร
ร.อ.สมบูรณ์ บุญมี ประจำแผนกสิทธิกำลังพล กสป.สบป.สบ.ทหาร

2 ประเภทของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ประเภทที่ 1 เครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ประมุขของรัฐ ประเภทที่ 2 เครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับบำเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน ประเภทที่ 3 เครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบ ในพระองค์พระมหากษัตริย์ ประเภทที่ 4 เหรียญราชอิสริยาภรณ์ที่นับเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (เหรียญจักรมาลา, เหรียญที่ระลึก )

3 ประเภทของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ประเภทที่ 2 เครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับบำเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน มี 8 ชนิด 1 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ม.จ.ก. มีชั้นสายสะพายชั้นเดียว 2 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ น.ร. มีชั้นสายสะพายชั้นเดียว 3 เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า 4 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี 5 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก 6 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย 7 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ 8 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ

4 ประเภทของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ประเภทที่ 3 เครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบ ในพระองค์พระมหากษัตริย์ มี ๓ ชนิดคือ 1 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตรารัตนวราภรณ์ ร.ว. มีฝ่ายหน้า ฝ่ายใน และมีชั้นเดียว 2 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตราวัลลภาภรณ์ ว.ภ. มีฝ่ายหน้า ฝ่ายใน และมีชั้นเดียว 3 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตราวชิรมาลา ว.ม.ล. มีเฉพาะฝ่ายหน้า พ้นสมัยพระราชทานแล้ว

5 ประเภทของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ประเภทที่ 4 เหรียญราชอิสริยาภรณ์ที่นับเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มี ๔ ชนิดคือ 1 เหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จกล้าหาญ 2 เหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จในราชการ (เหรียญจักรมาลา) 3 เหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ 4 เหรียญที่พระราชทานเป็นที่ระลึก และเหรียญที่ระลึก

6 การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจําปี ในกองบัญชาการกองทัพไทย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ กองบัญชาการกองทัพไทย เสนอขอพระราชทาน ประกอบด้วย 1. เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก สถาปนาเมื่อ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.4) พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก พ.ศ.2484 2. เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย สถาปนาเมื่อ 2412 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5) พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎ พ.ศ.2484 3. เหรียญจักรมาลา พระราชทานให้แก่ข้าราชการที่มีเวลารับราชการไม่น้อยกว่า 15 ปี สถาปนาเมื่อ 2412 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชบัญญัติเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา พ.ศ.2484

7 หลักเกณฑ์การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ตระกูลช้างเผือก และมงกุฎไทย เหรียญจักรมาลา 1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ฯ พ.ศ.2536 2. ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 33 3. ระเบียบ บก.ทท. ว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชฯ พ.ศ.2552 4. พระราชบัญญัติเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลาพุทธศักราช ๒๔๘๔

8 คุณสมบัติของบุคคลที่พึงได้รับการพิจารณา เสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
1. เป็นผู้มีสัญชาติไทย 2. เป็นผู้ประพฤติดี และปฏิบัติงานราชการหรือปฏิบัติงานที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนด้วยความอุตสาหะ ซื่อสัตย์ และเอาใจใส่ 3. เป็นผู้ไม่เคยมีพระบรมราชานุญาตให้เรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หรือต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่ เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิด ลหุโทษ

9 ขบวนการเสนอขอเครื่องราช ฯ
กระบวนการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจําปี ตระกูล : เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ตระกูล : เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย แบ่งออกด็เป็น 3 ส่วน ดังนี้ กระบวนการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ ระดับกรม ในที่นี้ หมายถึง กองบัญชาการกองทัพไทย (โดยมี กรมสารบรรณทหาร เป็นผู้รับผิดชอบ ดำเนินการ) 2. กระบวนการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ ระดับกระทรวง ในที่นี้ หมายถึง สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม 3. กระบวนการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ ของสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

10 กรมสารบรรณทหาร แจ้งหลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการ
กรมสารบรรณทหาร แจ้งหลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการ ในการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยประจําปี ไปยังหน่วยขึ้นตรงกองบัญชาการกองทัพไทย ให้เสนอเรื่องถึง สบ.ทหาร ภายใน 5 มี.ค. ของปี ส่วนราชการใน บก.ทท.ส่งรายชื่อให้ ภายใน 5 มี.ค. สบ.ทหาร ตรวจสอบความถูกต้องและจัดทำบัญชีรายชื่อ นำเรียน ผบ.ทสส. ขออนุมัติรายชื่อ สลค. ตรวจสอบเพื่อประชุมพิจารณา รอง เสธ.ทหาร ลงนามทำการแทน เสนอเรื่องถึง สป. ภายใน 16 มิ.ย. สป. นำเรียน ปล.กห.อนุมัติ เสนอ สลค. สลค. เสนอรายชื่อไปยังสำนักราชเลขา ธิการเพื่อนำความกราบบังคมทูล ฯ ราชกิจจานุเบกษา

11 ราชกิจจานุเบกษา ประกาศนียบัตรกำกับเครื่องราชอิสริยาภรณ์

12 ประเภทที่ 2 เครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับบำเหน็จความชอบในราชการแผ่นดินเครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎไทยและช้างเผือก มี16 ชั้นตรา ดังนี้ 1. ชั้นที่ 7 เหรียญเงินมงกุฎไทย (ร.ง.ม.) 9. ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) 2. ชั้นที่ 7 เหรียญเงินช้างเผือก (ร.ง.ช.) 10. ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.) 3. ชั้นที่ 6 เหรียญทองมงกุฎไทย (ร.ท.ม.) 11. ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) 4. ชั้นที่ 6 เหรียญทองช้างเผือก (ร.ท.ช.) 12. ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.) 5. ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บ.ม.) 13. ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) 6. ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์ช้างเผือก (บ.ช.) 14. ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) 7. ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) 15. ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) 8. ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก (จ.ช.) 16. ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) หมายเหตุ ใบประกาศนียบัตรกำกับเครื่องราช ฯ เริ่มตั้งแต่ชั้น บ.ม. ขึ้นไป

13 มงกุฎไทย 8 ชั้นตรา ช้างเผือก 8 ชั้นตรา
ประเภทที่ 2 เครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับบำเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน มงกุฎไทย 8 ชั้นตรา ช้างเผือก 8 ชั้นตรา 1. ชั้นที่ 7 เหรียญเงินมงกุฎไทย (ร.ง.ม.) 2. ชั้นที่ 7 เหรียญเงินช้างเผือก (ร.ง.ช.) 3. ชั้นที่ 6 เหรียญทองมงกุฎไทย (ร.ท.ม.) 4. ชั้นที่ 6 เหรียญทองช้างเผือก (ร.ท.ช.)

14 5. ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บ.ม.)
6. ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์ช้างเผือก (บ.ช.) 7. ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) 8. ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก (จ.ช.) 9. ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) 10. ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)

15 11. ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.)
12. ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.) 13. ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) 14.ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)

16 15. ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
16. ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)

17 เครื่องราชอิสริยาภรณ์
การขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ชั้นต่ำกว่าสายสะพาย

18 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการทหาร (นายทหารประทวน)
** นายทหารประทวนที่ขอได้กรณีพิเศษ ** ร.ง.ม. (เหรียญเงินมงกุฎไทย) สิบตรี, จ่าตรี และ จ่าอากาศตรี สิบโท, จ่าโท และ จ่าอากาศโท ร.ง.ช. (เหรียญเงินช้างเผือก) สิบเอก, จ่าเอก และ จ่าอากาศเอก ร.ท.ม. (เหรียญทองมงกุฎไทย) ขอพระราชทานได้เฉพาะกรณีพิเศษเท่านั้น

19 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการทหาร กรณีปกติ ต้องมีเวลารับราชการ 5 ปี 60 วัน
จ่าสิบตรี, พันจ่าตรี และ พันจ่าอากาศตรี ร.ท.ช. จ่าสิบโท, พันจ่าโท และ พันจ่าอากาศโท เริ่มขอ 5 ปี บ.ม. เหรียญทองช้างเผือก เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย จ่าสิบเอก, พันจ่าเอก และ พันจ่าอากาศเอก

20 ขอพระราชทานแต่ละชั้นตรา เว้น 5 ปี
จ.ม. จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย จ่าสิบเอก, พันจ่าเอก และ พันจ่าอากาศเอก บ.ช. อัตราเงินเดือน เบญจมาภรณ์ช้างเผือก จ่าสิบเอกพิเศษ, พันจ่าเอกพิเศษ และ พันจ่าอากาศเอกพิเศษ บ.ม. เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย ร.ท.ช. เหรียญทองช้างเผือก เริ่มขอ ขอพระราชทานแต่ละชั้นตรา เว้น 5 ปี

21 ชั้นยศ ร้อยตรี, เรือตรี และ
เรืออากาศตรี ขอ บ.ม. เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย 5 ปี เบญจมาภรณ์ช้างเผือก บ.ช. จตุรถาภรณ์มงกุฎไทย

22 ชั้นยศ ร้อยโท, เรือโท และ
จตุรถาภรณ์มงกุฎไทย ชั้นยศ ร้อยโท, เรือโท และ เรืออากาศโท ขอ จ.ม. ชั้นยศ ร.ท. บุรุษ สตรี

23 ชั้นยศ ร้อยเอก, เรือเอก และ
เรืออากาศเอก จตุรถาภรณ์ช้างเผือก ขอ จ.ช. บุรุษ สตรี

24 ชั้นยศ พันตรี, นาวาตรี และนาวาอากาศตรี
ตริตาภรณ์มงกุฎไทย ชั้นยศ พันตรี, นาวาตรี และนาวาอากาศตรี ขอ ต.ม. บุรุษ สตรี

25 ชั้นยศ พันโท, นาวาโท, และ นาวาอากาศโท ต.ช.
ตริตาภรณ์ช้างเผือก ขอ ต.ช. สตรี บุรุษ

26 ชั้นยศ พันเอก, นาวาเอก และ นาวาอากาศเอก
ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย ชั้นยศ พันเอก, นาวาเอก และ นาวาอากาศเอก ขอ ท.ม. บุรุษ สตรี

27 ชั้นยศ พันเอก (พิเศษ), นาวาเอก (พิเศษ) และ
นาวาอากาศเอก (พิเศษ) ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก ขอ ท.ช. ท.ม. บุรุษ สตรี

28 เครื่องราชอิสริยาภรณ์
การขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ชั้นสายสะพาย

29 ตำแหน่งหลัก ในกองบัญชาการกองทัพไทย
พันเอก, นาวาเอก และ นาวาอากาศเอก อัตราเงินเดือน พันเอกพิเศษ, นาวาเอกพิเศษ และ นาวาอากาศเอกพิเศษ (ตำแหน่งหลัก ) ท.ช. ป.ม. - เริ่มขอพระราชทาน ท.ช. - ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ตำแหน่งหลัก ในกองบัญชาการกองทัพไทย * ดำรงตำแหน่ง รอง, เสนาธิการ, รองเสนาธิการ ของหน่วยที่มีอัตราชั้นยศ พล.ท., พล.ร.ต. และ พล.อ.ต. * ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร * ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการกอง, นายทหารฝ่ายเสนาธิการ, หรือตำแหน่ง ที่เรียกชื่ออย่างอื่น ซึ่งเทียบเท่าตำแหน่งดังกล่าว

30 ท.ช. ป.ม. พันเอก(พ), นาวาเอก(พ) และ นาวาอากาศเอก (พ)
พันเอก, นาวาเอก และ นาวาอากาศเอก อัตราเงินเดือน พันเอกพิเศษ, นาวาเอกพิเศษ และ นาวาอากาศเอกพิเศษ (ตำแหน่งประจำ ) ท.ช. ป.ม. พันเอก(พ), นาวาเอก(พ) และ นาวาอากาศเอก (พ) - เริ่มขอพระราชทาน ท.ช. - ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ - ได้รับเงินเดือนขั้นต้นของ พล.ต. พล.ร.ต. และ พล.อ.ต. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี (น.5/5) ประถมาภรณ์มงกุฎไทย

31 เริ่ม ท.ช. ป.ม. ป.ช. ม.ว.ม. กรณีเกษียณอายุ ขอได้ไม่เกิน ป.ช.
ชั้นยศพลตรี, พลเรือตรี และ พลอากาศตรี 3 ปี ท.ช. 3 ปี ประถมาภรณ์มงกุฎไทย ป.ม. ประถมาภรณ์ช้างเผือก 5 ปี กรณีเกษียณอายุ ขอได้ไม่เกิน ป.ช. ป.ช. มหาวชิรมงกุฎ ม.ว.ม.

32 เริ่ม ป.ม. ป.ช. ม.ว.ม. ม.ป.ช. กรณีเกษียณอายุ ขอได้ไม่เกิน ม.ว.ม.
ชั้นยศพลโท, พลเรือโท และ พลอากาศโท 3 ปี ป.ม. 3 ปี ประถมาภรณ์ช้างเผือก ป.ช. มหาวชิรมงกุฎ 5 ปี ม.ว.ม. กรณีเกษียณอายุ ขอได้ไม่เกิน ม.ว.ม. มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก ม.ป.ช.

33 ให้ขอสูงขึ้นอีก 1 ชั้นตรา
ชั้นยศพลเอก, พลเรือเอก และ พลอากาศเอก เริ่ม 3 ปี ป.ม. 3 ปี ป.ช. 3 ปี ม.ว.ม. กรณีเกษียณอายุ ให้ขอสูงขึ้นอีก 1 ชั้นตรา ม.ป.ช.

34 ลูกจ้างประจำ กลุ่มหมวดฝีมือ ขอพระราชทานแต่ละชั้นตรา เว้น 5 ปี
จ.ช. จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก ลูกจ้างประจําซึ่งได้รับค่าจ้างตั้งแต่อัตราเงินเดือนขั้นต่ำ ของข้าราชการพลเรือนระดับ 3 แต่ไม่เกินระดับ 6 (บ.ม. เลื่อนถึง จ.ม.) จ.ม. จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย ลูกจ้างประจําซึ่งได้รับค่าจ้างตั้งแต่อัตราเงินเดือนขั้นต่ำของข้าราชการพลเรือนตั้งแต่ระดับ 6 ขึ้นไป (บ.ช. เลื่อนถึง จ.ช.) บ.ช. เบญจมาภรณ์ช้างเผือก เริ่มขอ บ.ม. เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย ขอพระราชทานแต่ละชั้นตรา เว้น 5 ปี

35 ขอพระราชทานแต่ละชั้นตรา เว้น 5 ปี
พนักงานราชการ จ.ช. จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก 1  กลุ่มงานบริการ, กลุ่มงานเทคนิค เริ่มต้นขอเครื่องราชอิสริยาภรณ์  ชั้น บ.ม. - จ.ช. จ.ม. จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย บ.ช. เบญจมาภรณ์ช้างเผือก เริ่มขอ บ.ม. เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย ขอพระราชทานแต่ละชั้นตรา เว้น 5 ปี

36 คู่สมรสข้าราชการทหารชั้นผู้ใหญ่
ป.ม. ประถมาถาภรณ์มงกุฎไทย 1  นายทหารชั้นยศพลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ที่ดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการเหลาทัพ ท.ช. จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก ท.ม. จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย ต.ช. เบญจมาภรณ์ช้างเผือก ขอปีเว้นปี ตามลำดับถึง ท.ม. ตั้งแต่ ท.ม. ขี้นไป เว้น 2 ปี เริ่มขอ ต.ม. เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย

37 คู่สมรสข้าราชการทหารชั้นผู้ใหญ่
ท.ช. ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก 2  นายทหารชั้นยศพลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ที่ดำรงตำแหน่ง ซึ่งมีลักษณะเป็นการ บังคับบัญชาตามกฎหมาย ท.ม. ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย ต.ช. ตริตาถาภรณ์ช้างเผือก ต.ม. ตริตาถาภรณ์มงกุฎไทย จ.ช. ขอปีเว้นปี ตามลำดับถึง ท.ม. ตั้งแต่ ท.ม. ขี้นไป เว้น 2 ปี จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก เริ่มขอ จ.ม. จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย

38 คู่สมรสข้าราชการทหารชั้นผู้ใหญ่ ขอปีเว้นปี ตามลำดับถึง ท.ม.
ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย 3  นายทหารชั้นยศพลโท พลเรือโท พลอากาศโท ที่ดำรงตำแหน่ง ซึ่งมีลักษณะเป็นการ บังคับบัญชาตามกฎหมาย ต.ช. ตริตาถาภรณ์ช้างเผือก ต.ม. ตริตาถาภรณ์มงกุฎไทย จ.ช. จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก ขอปีเว้นปี ตามลำดับถึง ท.ม. จ.ม. เริ่มขอ จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย

39 คู่สมรสข้าราชการทหารชั้นผู้ใหญ่ ขอปีเว้นปี ตามลำดับถึง ต.ช.
ตริตาถาภรณ์ช้างเผือก 4  นายทหารชั้นยศพลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี ที่ดำรงตำแหน่ง เจ้ากรม ต.ม. ตริตาถาภรณ์มงกุฎไทย จ.ช. จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก จ.ม. จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย ขอปีเว้นปี ตามลำดับถึง ต.ช. บ.ช. เบญจมาภรณ์ช้างเผือก เริ่มขอ

40 วิธีการนับจำนวนปี ในการเสนอขอ เหรียญจักรมาลา
พ.ศ. ที่บรรจุ + 15 จะเท่ากับ พ.ศ.ที่ครบเสนอขอ (แต่วันบรรจุไม่เกิน 6 ต.ค. ของปี ที่เสนอขอ ถ้าเกินให้ + 16 ) ตัวอย่างหรือ พ.ศ. ที่บรรจุ + ด้วย 15 = พ.ศ. ที่ครบขอ ตัวอย่าง 1. บรรจุ 1 เม.ย.2550 ตัวอย่าง 2. บรรจุ 10 ต.ค.2550 + 15 = พ.ศ.2565 ครบขอ + 16 = พ.ศ.2566 ครบขอ

41 ทุกพ.ศ. พิมพ์ 1 ต.ค....... (เงินเดือน ให้ใช้เงินเดือนที่เป็น 1 ต.ค.)
ประวัติสำหรับเสนอขอพระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลา/เหรียญจักรมาลา ประจำปี ๒๕๕๖ ชื่อ จ่าสิบเอก ทนงศักดิ์ วิสูงเล ตำแหน่งนายสิบศูนย์ข่าว ตอนศูนย์ข่าว กอง กองพันปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ กรม การสื่อสารทหาร กระทรวง กลาโหม เกิด ๑๑ เมษายน ๒๕๒๐ รับราชการมาครบ ๑๕ ปี เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ วันเดือนปี ตำแหน่ง กรม/กระทรวง อายุ เงินเดือน หมายเหตุ ที่รับราชการ ๑ พ.ค.๔๑ นายสิบดักฟังและเฝ้าฟัง ตอนนายสิบดักฟังและเฝ้าฟัง กรมการสื่อสารทหาร ๒๑ ๔,๑๐๐ กองพันปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ ทุกพ.ศ. พิมพ์ 1 ต.ค (เงินเดือน ให้ใช้เงินเดือนที่เป็น 1 ต.ค.) ๑ ต.ค.๕๕ " ๓๕ ๑๓,๖๙๐ พ.ศ.๒๕๕๖ ๓๖ ยศ-ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง พิมพ์คำเต็ม)

42 ด้านหน้ามีรูปจักร กลางวงจักรเป็นรูปจุลมงกุฎ พานรองสองชั้น มีเครื่องสูงสองข้าง
ด้านหลัง เป็นรูปวงจักรเช่นเดียวกับด้านหน้า กลางวงจักรมีรูปช้าง จารึกอักษรว่า ส.พ.ป.ม.จ.5 (อักษรย่อของพระปรมาภิไธย "สมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ แพรแถบกว้าง ๓ เซนติเมตร สีแดงขอบเขียวมีริ้วสีเหลือง ริ้วสีน้ำเงิน ประดับที่อกเสื้อเบื้องซ้าย

43 แบบทดสอบ 1. พ.อ.กิตติ เกตุศรี ดำรงตำแหน่ง ผอ.กกพ.สบ.ทหาร เมื่อ 1 ต.ค.48 จะต้องเสนอขอพระราชทานเครื่องราชฯ ชั้น ท.ช. เมื่อใด 5 ธ.ค และจะเสนอขอเครื่องราชฯ ชั้นสายสะพาย (ป.ม.) ได้เมื่อ ธ.ค ตำแหน่งหลัก ใช้หลักเกณฑ์ ท.ช. 3 ปี (5 ธ.ค.49 บวก 3 ปี ) 2. พ.อ.รักชาติ ยิ่งชีพ เป็น พ.อ.(พิเศษ) โดยปรับเงินเดือนจาก น.4/14 เป็น น.5/10 เมื่อ 1 ต.ค.53 ได้รับ ท.ช เมื่อ 5 ธ.ค.54 ปัจจุบันตำแหน่ง นปก.บก.ทท. มีสิทธิเสนอขอเครื่องราชฯ ชั้นสายสะพาย (ป.ม.) เมื่อใด 5 ธ.ค.58 ไม่ใช่ตำแหน่งหลัก หลักเณฑ์ คือ ได้ ท.ช มาแล้ว 3 ปี เงินเดือนขั้นต่ำของ พลตรี 5 ปี 3 จากข้อ 2 พ.อ.รักชาติ ยิ่งชีพ ได้ปรับย้ายให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการกอง 1 เม.ย.57 จะต้องเสนอขอ ป.ม. เครื่องราชฯ ชั้นสายสะพาย (ป.ม.) เมื่อใด ปี 57

44 จบการบรรยาย

45

46

47 ลักษณะแถบจำลอง เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ที่ใช้ประดับในปัจจุบัน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันอันมีเกียรติยศยิ่ง มงกุฏไทย มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) มหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.) ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) ประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม. ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.) ทวีติยาภรณ์มงกุฏไทย (ท.ม.) ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.) ตริตาภรณ์มงกุฏไทย (ต.ม.)

48 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันอันมีเกียรติยศยิ่ง มงกุฏไทย จัตุรถาภรณ์มงกุฏไทย (จ.ม..) จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก (จ.ช.) เบญจมาภรณ์ช้างเผือก (บ.ช.) เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บ.ม.) เหรียญทองช้างเผือก (ร.ท.ช.) เหรียญทองมงกุฏไทย (ร.ท.ม.) กรณีพิเศษ เหรียญเงินช้างเผือก (ร.ง.ช.)กรณีพิเศษ เหรียญเงินมงกุฏไทย (ร.ง.ม.)กรณีพิเศษ

49 แพรแถบย่อเหรียญที่ระลึกต่าง ๆ
ชื่อเหรียญที่ระลึก ปี พ.ศ. ที่ทรงโปรดเกล้า แพรแถบย่อ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 9 2493 งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ 2500 เสด็จพระราชดำเนินเยือนสหรัฐและยุโรป 2505 ครองสิริราชสมบัติครบ 25 ปี 2514 สถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิาชฯ 2515 สถาปนาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 2520 สมโภชน์กรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี 2525 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ 50 พรรษา

50 แพรแถบย่อเหรียญที่ระลึกต่าง ๆ
ชื่อเหรียญที่ระลึก ปี พ.ศ. ที่ทรงโปรดเกล้า แพรแถบย่อ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 84 2527 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ 60 พรรษา 2530 พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก 2531 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ 60 พรรษา 2535 ครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี 2539 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ 72 พรรษา 2542 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ 72 พรรษา 2547 พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี 2549

51 เรียงจากซ้ายไปขวาและบนลงล่าง
ในการประดับเหรียญที่ระลึกและแพรแถบย่อต้องเรียงลำดับปี พ.ศ. อดีต - ปัจจุบัน เรียงจากซ้ายไปขวาและบนลงล่าง 1 2 1

52 ภาพการประดับแพรแถบย่อ
กึ่งกลางกระเป๋าเสื้อ ด้านซ้ายเหนือขึ้นไป ประมาณ 1 ซม.

53 จบการบรรยาย


ดาวน์โหลด ppt ประจำแผนกสิทธิกำลังพล กสป.สบป.สบ.ทหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google