งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หมวด 6 การปฏิบัติการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หมวด 6 การปฏิบัติการ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หมวด 6 การปฏิบัติการ

2 CAT6 : OPERATION กระบวนการ ผลลัพธ์ บริบท 1.ออกแบบระบบงาน
ทำธุรกิจใด ผลิตภัณฑ์หลักคืออะไร ลูกค้าคือใคร คาดหวังอะไร กฎระเบียบ มาตรฐานสำคัญคืออะไร ใครคือพันธมิตรและผู้ส่งมอบที่สำคัญ สมรรถนะหลักคืออะไร ความท้าทายคืออะไร ความได้เปรียบคืออะไร เราปรับปรุงกระบวนการและสร้างนวัตกรรมอย่างไร กระบวนการ 1.ออกแบบระบบงาน 2. จัดการระบบงาน 3. การจัดการนวัตกรรม 4.การออกแบบกระบวนการ 7. การเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน 6. การจัดการห่วงโซ่อุปทาน 5.การจัดการกระบวนการ ผลลัพธ์ คุณภาพผลิตภัณฑ์ และ กระบวนการ ประสิทธิผลของระบบงาน และกระบวนการ ประสิทธิผลของการเตรียมความพร้อมภาวะฉุกเฉิน

3 หมวด 6 การปฏิบัติการ (100 คะแนน)
หมวด 6 การปฏิบัติการ (100 คะแนน) 6.1 กระบวนการทำงาน (55คะแนน) 6.2 ประสิทธิผลของการปฏิบัติการ(45คะแนน) ก. การออกแบบหลักสูตรและกระบวนการ ข. การจัดการประบวนการ ก. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของกระบวนการ ข. การจัดการห่วงโซ่อุปทาน ค. การเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยและภาวะฉุกเฉิน (1) การนำกระบวนการไปปฏิบัติ (1) ข้อกำหนดหลักสูตรและกระบวนการ วัฒนธรรมขององค์กร (2) ปัจจัยขับเคลื่อนความผูกพัน (2) กระบวนการสนับสนุน (2) แนวคิดในการออกแบบ (3) การประเมินความผูกพัน (3) การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการ (4) การจัดการผลการปฏิบัติงาน

4 “ระบบงาน Work System ”หมายถึง วิธีการที่ทำให้งานของโรงเรียนให้ประสบความสำเร็จ มีความเกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน ผู้ส่งมอบ คู่ความร่วมมือที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการของโรงเรียนคู่สัญญา และองค์ประกอบอื่นของห่วงโซ่อุปทานที่จำเป็นต่อการผลิตและส่งมอบผลิตภัณฑ์ และดำเนินการตามหลักสูตร บริการและกระบวนการสนับสนุนต่าง ๆ ระบบงานของโรงเรียนต้องประสานงานระหว่างกระบวน การทั้งภายใน ภายนอก และทรัพยากรที่จำเป็นสำหรับโรงเรียนในการพัฒนา ผลิตและนำไปจัดหลักสูตร บริการที่ส่งเสริมการเรียนรู้และบริการทางการศึกษาอื่น ๆ สำหรับนักเรียน และทำให้โรงเรียนได้รับความสำเร็จเป็นที่ยอมรับของบทบาทสังคม

5 Work system กระบวนการจัดการ (Management process) กระบวนการหลัก
(Core work process) (Key work process) กระบวนการสนับสนุน (Support process) อย่ายึดกับ function ในระบบงานนั้นประกอบด้วยกระบวนการทำงานที่สำคัญ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม

6 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สมรรถนะหลักขององค์กร การสนับสนุน & เทคโนโลยี
วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้างธุรกิจ กลยุทธ์ เป้าประสงค์ ลูกค้าและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หลักสูตร/บริการ และช่องทางบริการ สมรรถนะหลักขององค์กร ระบบงาน การเงินและงบประมาณ การสนับสนุน & เทคโนโลยี กระบวนการที่สำคัญ โครงสร้างองค์กร ผู้ส่งมอบ คู่ความร่วมมือ องค์ประกอบสำคัญ แนวคิดในการออกแบบและสร้างนวัตกรรมของระบบงาน

7 โรงเรียนของท่านมี (Approach) 10 กระบวนการ/แนวทางทำงานเหล่านี้หรือยัง ?
1. จัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของหลักสูตรและกระบวนการทำงาน 2. ออกแบบหลักสูตร และกระบวนการทำงานเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญ 3. ติดตามการปฏิบัติงานประจำวันของการทำงานเป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญ 4. กำหนดกระบวนการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่สำคัญ 5. ปรับปรุงกระบวนการทำงาน เพื่อปรับปรุงหลักสูตรและผลการดำเนินการเสริม สร้างความแข็งแกร่งของสมรรถนะหลักของโรงเรียน

8 7. การควบคุมต้นทุนโดยรวมของการปฏิบัติการ
โรงเรียนของท่านมี(Approach) 10 กระบวนการทำงานเหล่านี้หรือไม่ ? 6. การจัดการนวัตกรรม 7. การควบคุมต้นทุนโดยรวมของการปฏิบัติการ 8. การจัดการห่วงโซ่อุปทาน 9. ทำให้เกิดสภาพแวดล้อมการปฏิบัติการที่ปลอดภัย 10. เตรียมความพร้อมต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉินของโรงเรียน

9 (ประจักษ์พยาน/หลักฐานคืออะไร ?)
ผู้นำระดับสูงมีวิธีการนำกระบวนการทั้ง นำสู่การปฏิบัติ(Deploy)อย่างไรบ้าง 1. พบว่า มีการวางแผนที่จะนำสู่การปฏิบัติ 2. พบว่า มีการนำกระบวนการ/แนวทางสู่การปฏิบัติอย่างดีในหน่วยงาน / กลุ่มหลักๆ ที่มีความสำคัญต่อความสำเร็จ เช่น หน่วยงานหลัก กลุ่มลูกค้าหลัก พนักงานกลุ่มหลักที่มีความสำคัญสูง 3. พบว่า ยังได้นำกระบวนการ/แนวทางไปสู่ในหน่วยงาน/กลุ่มอื่น นอกเหนือจากกลุ่มหลัก 4. พบว่า มีการนำแนวทางสู่การปฏิบัติอย่างดี ในทุกหน่วยงานทุกกลุ่ม 5. พบว่า กระบวนการ/แนวทางถูกนำสู่การปฏิบัติที่ดีมาก (ประจักษ์พยาน/หลักฐานคืออะไร ?)

10 ผู้นำระดับสูงมีวิธีการอย่างไร ในการเรียนรู้(Learning)จากกระบวนการทั้ง 10
1.พบว่า มีการกำหนดวงรอบที่แน่นอนในการติดตามความก้าวหน้า ของการนำสู่การปฏิบัติและมีการติดตามผลลัพธ์บ้าง 2.พบว่า มีการกำหนดตัววัด เป้าหมายที่ชัดเจน และมีการติดตามผลตัววัดเทียบกับเป้าหมาย เป็นวงรอบที่ชัดเจน 3. พบว่า เริ่มมีการปรับปรุงกระบวนการ/แนวทางที่ใช้บ้าง อันเกิดจากการทบทวนติดตามจากตัววัด 4. พบว่า มีการใช้ข้อมูลและสารสนเทศในการติดตามผลอย่างเป็นวงรอบที่ชัดเจน สม่ำเสมอ มีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ และนำมาซึ่งการปรับปรุงผลการดำเนินการและแนวทางที่ใช้ที่เป็นระบบ และใช้ใช้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบบ้าง 5. พบว่า กระบวนการ/แนวทางที่ใช้ตอบสนองต่อทิศทางกลยุทธ์ขององค์กรทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นอย่างดีแล้ว ยังเชื่อมโยงและส่งเสริมความสำเร็จซึ่งกันและกันด้วย

11 ผู้นำระดับสูงสร้างกระบวนการก่อให้เกิดผลลัพธ์
สอดคล้อง(Integrate)กับกลยุทธ์อย่างไร ? 1.พบว่า ต่างคนต่างทำงาน ไม่มีเป้าหมายที่ชัดเจน กำหนดวัตถุประสงค์ของสิ่งที่ทำบ้างและทำไปเรื่อยๆ รอให้ปัญหา เกิดก่อนค่อยมาประชุมกัน 2. พบว่า มีการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ชัดเจน แต่เป็นเป้าหมายของ หน่วยงานเป็นหลัก และคำนึงถึงความต้องการของนักเรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียบ้าง 3. พบว่า แนวทางที่ใช้ ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หลังจากการสำรวจนักเรียนหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเริ่มสอดคล้องกับทิศทางกลยุทธ์ 4. พบว่า แนวทางที่ใช้ คำนึงถึงและตอบสนองต่อทิศทางกลยุทธ์ระยะสั้น และระยะยาว ขององค์กรเป็นอย่างดี 5. พบว่า แนวทางที่ใช้ตอบสนองต่อทิศทางกลยุทธ์ทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นอย่างดีแล้ว ยังเชื่อมโยงและส่งเสริมความสำเร็จซึ่งกันและกันและเริ่มตอบสนองความยั่งยืน ขององค์กรระยะยาว

12 14 ผลลัพธ์ที่เกณฑ์ต้องการ
1. ความสำเร็จที่สำคัญตามวิสัยทัศน์และพันธกิจ 13. ความรับผิดชอบต่อสังคม 2. ความสำเร็จของการสร้างค่านิยมองค์กร 3. ประสิทธิผลของการสื่อสารของผู้นำระดับสูง 14. ประสิทธิผล ของการให้การสนับสนุนชุมชน 4. การสร้างความผูกพันจากการสื่อสารโดยผู้นำระดับสูง 5. ประสิทธิผลของการส่งเสริมการสื่อสารสองทาง 6. การทำให้ทุกคนสนใจเป้าหมายขององค์กรและปรับปรุงผล 7. การเป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาลที่ดี 8. การตรวจสอบทั้งจากองค์กรภายนอกและการตรวจสอบภายใน 9. ผลลัพธ์ที่แสดงถึงประสิทธิผลของการปฏิบัติตามกฎหมาย 10. ประสิทธิผลของการจัดการผลกระทบเชิงลบต่อสังคม 11. ประสิทธิผลของการประพฤติอย่างมีจริยธรรม 12. ระดับความไว้วางใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อผู้นำระดับสูง

13 ระดับของผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอย่างไรบ้าง
0. พบว่า ไม่มีการวัดผล ใดใด 0.5 พบว่า มีการวัดผลบ้าง แต่ไม่ใช่ตัววัดที่มีความสำคัญ 1. พบว่า เริ่มมีการวัดผลในเรื่องที่มีความสำคัญตรงกับวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ 1.5 พบว่า มีระดับดีพอใช้เมื่อเทียบกับเป้าหมาย แต่ยังไม่บรรลุเป้าหมาย 2. พบว่า ผลลัพธ์ของตัววัดที่มีความสำคัญตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด 2.5 พบว่า ผลลัพธ์บรรลุเป้าหมายและเริ่มเห็นแนวโน้มที่ดีขึ้น พบว่า ผลลัพธ์เชิงเปรียบเทียบที่ดี มีระดับไม่ต่ำกว่า 70 percentile ของวงการศึกษา 3.5 พบว่า ผลลัพธ์เชิงเปรียบเทียบที่ดีคือไม่ต่ำกว่าระดับ 80 percentile 4. พบว่า มีผลลัพธ์ครบถ้วนในทุกกลุ่มที่มีความสำคัญ มีการเปรียบเทียบกับคู่เทียบ(หรือคู่แข่ง) อยู่ในเกณฑ์ดีมาก คือ ในระดับ 85 percentile ขึ้นไปเมื่อเทียบกับวงการศึกษา

14 6.1 ระบบงาน : โรงเรียนมีวิธีการออกแบบ จัดการ และปรับปรุงระบบงานอย่างไร (60 คะแนน)
6.1 ก. การออกแบบระบบงาน 6.1 ก (1) แนวคิดในการออกแบบระบบงาน -โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการออกแบบและสร้างนวัตกรรม ในระบบงานโดยรวม - มีการใช้ประโยชน์จากสมรรถนะหลักของโรงเรียน (core competencies) อย่างไร - กำหนดว่ากระบวนการใดในระบบงานโดยรวมเป็นกระบวนการภายในโรงเรียน (กระบวนการทำงานที่สำคัญของโรงเรียน) และกระบวนการใดจะใช้ทรัพยากรจากแหล่งภายนอก

15 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6.สมรรถนะหลักขององค์กร 8.การสนับสนุน & เทคโนโลยี
1.วิสัยทัศน์ พันธกิจ 5.โครงสร้างธุรกิจ 2.กลยุทธ์ เป้าประสงค์ 3.ลูกค้าและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.หลักสูตร/บริการและ ช่องทางบริการ 6.สมรรถนะหลักขององค์กร ระบบงาน 7.การเงินและงบประมาณึ 8.การสนับสนุน & เทคโนโลยี 9.กระบวน การที่สำคัญ 10.โครงสร้างองค์กร 11.ผู้ส่งมอบ คู่ความร่วมมือ 11 องค์ประกอบสำคัญ แนวคิดในการออกแบบและสร้างนวัตกรรมของระบบงาน

16 ทบทวนผังระบบงานขององค์กรเพื่อกำหนดตำแหน่งที่กระบวนการควรอยู่
ออกแบบ เจตจำนง: ออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการทำงานเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญ ทบทวนผังระบบงานขององค์กรเพื่อกำหนดตำแหน่งที่กระบวนการควรอยู่ กำหนดชนิดของกระบวนการ(กระบวนการหลักหรือสนับสนุน?) กำหนดข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการทำงาน สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย? สอดคล้องกับยุทธศาสตร์องค์กร ? กำหนดเป้าหมายหลักของกระบวนการ กำหนดผลลัพธ์ที่คาดหวัง กำหนดตัวชี้วัดที่สะท้อนถึงคุณภาพของผลลัพธ์ กำหนดจุดควบคุมและตัวชี้วัดในกระบวนการ ศึกษาทบทวนวิธีการที่ใช้ในปัจจุบันและบันทึกให้เป็น Process Map

17 กำหนดเจ้าของกระบวนการหรือเจ้าภาพ(process owner)
4. กำหนความรับผิดชอบ กำหนดเจ้าของกระบวนการหรือเจ้าภาพ(process owner) กำหนดผู้ดำเนินกระบวนการ(process performer) มอบหมายให้รับผิดชอบตัวชี้วัดของกระบวนการ ทั้งเจ้าของและผู้ดำเนินกระบวนการ 5. ออกแบบขั้นตอน กำหนดรายละเอียด ของกระบวนการ ใช้เครื่องมือช่วยในการออกแบบ เช่น SIPOC, Lean, PDCA นำสารสนเทศด้าน Innovation, CAR, & OFI ที่เกี่ยวข้องมาพิจารณา 6. บันทึกผลการออกแบบ สรุปเป็น ร่างคู่มือการดำเนินกระบวนการ แผนงานทดลองใช้กระบวนการ 7. ยืนยันประสิทธิผลของกระบวนการ ทดลองใช้ในวงแคบ ติดตามประเมินผล ปรับปรุงจนกว่าได้มาตรฐาน 8. จัดเตรียมเอกสารประกอบ

18 ตัวอย่าง การออกแบบระบบงาน ด้วย SIPOC Model และ Value Chain
ขั้นตอน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา/ความถี่ 1. ศึกษาและวิเคราะห์ ผลิตภัณฑ์/บริการ พันธกิจ กลยุทธ์และความต้องการของลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2. สำรวจและวิเคราะห์สภาพการทำงานของหน่วยงาน (ระบุว่ามีกระบวนการทำงานอะไรบ้าง) 3. แปลงความต้องการเป็นข้อกำหนดกระบวนการและตัวชี้วัด 4. ระบุว่ากระบวนการที่จำเป็นในการตอบสนองต่อข้อกำหนดกระบวนการต้องมีอะไรบ้าง 5. จัดกลุ่มกระบวนการและร้อยเรียงความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการ รวมถึงตัวชี้วัด 6. จัดทำระบบงานภาพรวม

19 Customer of Customer Partners Customers Outputs Process Inputs
Value Chain : SIPOC Model 8 Supplier Customer Output Process Input Customer of Customer ผู้รับสินค้าหรือบริการคือใคร 7 1 Partners Customers สินค้าหรือบริการคืออะไร Outcome คู่ความร่วมมือคือใคร 2 3 Outputs ความต้องการคืออะไร 4 Process กระบวนการที่เหมาะสมคืออย่างไร องค์กร ของเรา 5 ปัจจัยนำเข้าของ กระบวนการคืออะไร Inputs 6 Suppliers ผู้ส่งมอบปัจจัยคือใคร 19

20 Value Chain / Supply Chain
Output Process Input Output Process Input Output Process Input ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย พันธมิตร คู่ความร่วมมือ ผู้ส่งมอบ ของ ผู้รับบริการ หรือลูกค้า ลูกค้าของ ลูกค้า ผู้ส่งมอบ ผู้เกี่ยวข้อง หน่วยงาน อื่น หน่วยงาน กระทรวงอื่นหรือ เอกชน หน่วยงาน กรม หน่วยงาน จังหวัด หน่วยงาน ท้องถิ่น ผู้รับ บริการ Input Process Output

21 ห่วงโซ่อุปทาน (Value Chain Analytical ; VCA)
กำไรขั้นต้น

22 Process Outputs Inputs Value Chain : IPO (Input-Process-Output)
กระบวนการนำปัจจัยการผลิตต่าง ๆ ผสมเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ Outputs วัตถุดิบ บุคลากร เครื่องมือ Methods/Procedures Equipment Environment Service Product Task completed

23 กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างจัดหาฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์
Value Chain : Michael E. Porter การรับนักเรียน และจำแนก นักเรียน การจัดการเรียน การสอน และ บริการศึกษา นักเรียนที่จบ การส่งต่อ หลักสูตร ประชาสัมพันธ์ และการตลาด หลังการขาย บริการ กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างจัดหาฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ PRIMARY ACTIVITIES การพัฒนาเทคโนโลยีข้อมูลสารสนเทศ การบริหารจัดการครู บุคลากร ลูกจ้าง ผู้ประกอบการ ฯลฯ โครงสร้างพื้นฐานของโรงเรียน :น้ำ ไฟฟ้า ถนน อาคาร SUPPORT ACTIVITIES MARGIN 23

24 การจัดซื้อ จัดหาสื่อ อุปกรณ์ เครื่องมือ เพื่อใช้ในกระบวนการหลัก
P การคัดเลือก นร การจัด นร ตามแผน/ ห้องเรียน หลักสูตรและ การเรียน การสอน ระบบการ เรียนรู้ กิจกรรม เสริม หลักสูตร บริการ ทาง การศึกษา V A L U E 1 3 การบริหารจัดการ การเงิน บัญชีฯลฯ การบริหารบุคลากร คัดเลือก ตำแหน่ง เงินเดือน ค่าตอบแทน พัฒนา ฝึกอบรม ประเมินผล การจัดซื้อ จัดหาสื่อ อุปกรณ์ เครื่องมือ เพื่อใช้ในกระบวนการหลัก การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ 2 4

25 วิสัยทัศน์ ระบบงานหลักที่สำคัญ
กระบวนการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน วิสัยทัศน์ พันธกิจ+เป้าหมาย +กลยุทธ์ +นโยบาย ระบบงานหลักที่สำคัญ กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการกิจกรรม การพัฒนาหลักสูตร กระบวนการ จัดการสื่อ และเทคโนโลยี กระบวนการวัดประเมินผล กระบวนการวิจัย ในชั้นเรียน กระบวนการนิเทศติดตาม กิจกรรมในหลักสูตร กิจกรรมเสริม หลักสูตร กิจกรรมแนะแนว คุณภาพนักเรียน ระบบงานสนับสนุน กระบวนการมุ่งเน้นบุคลากร กระบวนการบริหาร ยุทธศาสตร์และพัฒนา กระบวนการจัดการข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี กระบวนการจัดการ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้ม กระบวนการสร้างภาคี เครือข่ายและชุมชนสัมพันธ์ กระบวนการประกัน คุณภาพการศึกษา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมชมรม/ชุมนุม แผนภาพ ตัวอย่างแสดงระบบงานหลักหลักและระบบงานสนับสนุน

26 ห่วงโซ่อุปทาน (Supply-chain)
รับสมัครลูกค้า/คัดเลือก นร ด้วยตัวชี้วัดมาตรฐานการศึกษา จัดห้องเรียน ตามโปรแกรม กระบวนการปฐมนิเทศ กระบวนการเรียนการสอน กระบวนการวัดและประเมินผล ลูกค้า จบหลักสูตร การบริหารงบประมาณ แผนงาน และการบริหารทั่วไป สื่อ อุปกรณ์การสอน เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์ น้ำ-ไฟฟ้า อาคาร สถานที่ ห้อสมุด แหล่งเรียนรู้ ห้องพิเศษ กระบวนการสร้างคุณธรรมจริยธรรม ระบบดูแลช่วยเหลือ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมชุมชน/สิ่งแวดล้อม การบริหารงาน กิจการนักเรียน ผู้ส่งมอบ SUPPLIER OUTPUT CUSTOMER1 PROCESS CUSTOMER2 OUTCOME ข้อมูลและ สารสนเทศ INPUT

27 ตัวอย่าง การวิเคราะห์กำหนดกระบวนการหลักและสนับสนุน
ตัวอย่าง การวิเคราะห์กำหนดกระบวนการหลักและสนับสนุน กระบวนการทำงาน สร้างคุณค่า สนับสนุน หน่วยรับผิดชอบ ภาระหน้าที่หลัก หลักสูตรและการสอน X วิชาการและแนะแนว กิจการ นร. รับสมัคร คัดเลือกนักเรียน จัดหลักสูตร รับสมัคร ดูแลนักเรียน จัดซื้อ/จัดจ้าง พัสดุ จัดซื้อ-หา วัตถุดิบที่ใช้ในการเรียนการสอน การจัดคลังสื่อ อุปกรณ์ หนังสือเรียน ห้องสมุด พัสดุกลุ่มสาระ ห้องสมุด จัดการ จัดเก็บวัสดุ สื่ออุปกรณ์ เทคโนโลยี การสอน ดูแล ทำทะเบียนเบิก/จ่าย การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน บริหารทั่วไป การจัดหาน้ำ ไฟฟ้า อาคารสถานที่ และสภาพแวดล้อม ความปลอดภัย ชีวนามัย การออกแบบหลักสูตร วิชาการ ออกแบบหลักสูตรให้ทันสมัย การจัดการเรียนการสอน กลุ่มสาระ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน การตรวจสอบคุณภาพ ประกันคุณภาพภายใน ตรวจสอบคุณภาพ วัตถุดิบ การผลิต และสินค้า มาตรฐานคุณภาพสินค้า สนับสนุน พัฒนาการสอน นิเทศ ดูแลโครงสร้างพื้นฐาน ซ่อมแก้ไข บำรุงรักษา ส่งเสริมความเป็นเลิศฯ ติดต่อ ประสานงานสถาบัน กศ.ต่าง ๆ การจัดการและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล บุคคล จัดหาบุคลากร จูงใจ พัฒนา และประเมินขีดสมรรถนะและผลงาน ค่าตอบแทน การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดการ ดูแลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

28 ข้อกำหนดของเกณฑ์ โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการ ออกแบบ จัดการ และปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการทำงานที่สำคัญ ก. การออกแบบหลักสูตรและกระบวนการ (1) ข้อกำหนดของหลักสูตรและกระบวนการ - โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของหลักสูตร และ กระบวนการทำงาน - กระบวนการทำงานที่สำคัญ ของโรงเรียนมีอะไรบ้าง และ - ข้อกำหนดที่สำคัญ ของกระบวนการเหล่านี้คืออะไร

29 วิธีการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญ พิจารณาจาก.....
หลักการและแนวคิดการจัดการจัดทำข้อกำหนดหลักสูตรและกระบวน การทำงานที่สำคัญ วิธีการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญ พิจารณาจาก..... เป้าหมาย หลักการของหลักสูตรแกนกลางฯ ความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครองและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ขีดความสามารถของโรงเรียนเองและความพร้อมของทรัพยากร ความสามารถของการจัดหาทรัพยากรและความต่อเนื่องของงบประมาณ มาตรฐานการควบคุมกระบวนการการทำงาน ปัจจัยต่างๆ ที่อาจมีผลกระทบต่อกระบวนการ เช่น กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี แนวโน้มของพฤติกรรมนักเรียน ตลาดและทางสังคม ปัจจัยของผลกระทบที่อาจมีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมในระยะสั้นและระยาว ความเป็นไปได้ในการตอบสนองต่อความต้องการของนักเรียนทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ความคล่องตัวในการปรับเปลี่ยน การประสานงานกับส่วนงานอื่นทั้งในแนวดิ่งและในแนวราบ

30 ข้อกำหนดหลักสูตรที่สำคัญ
ตัวอย่างการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญ ข้อมูลความต้องการ ข้อกำหนดหลักสูตรที่สำคัญ มีนักเรียนจากตลาดใหม่ ๆ อยู่เสมอ นักเรียนเก่ามีความพึงพอใจในหลักสูตรของโรงเรียนสูง รู้ข้อมูล ข่าวสารจากนักเรียนที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ทันที มีนักเรียนจากตลาดใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นทุกปี รักษาและเพิ่มระดับความพึงพอใจของนักเรียนปัจจุบัน ข้อมูล สารสนเทศ เสียงของนักเรียน เป็นปัจจุบัน สื่อ วัสดุ อุปกรณ์การสอนที่สั่งซื้อต้องไม่มีของเสีย ที่ทำให้กระบวนการเรียนการสอนยุดชะงัก มีสื่ออุปกรณ์ เทคโนโลยีใช้ในกระบวนการเรียนการสอนครบถ้วน สื่อ วัสดุอุปกรณ์การสอนมีคุณภาพสูง มีสื่อ วัสดุอุปกรณ์เทคโนโลยีการสอนตอบสนองต่อกระบวนการเรียนการสอนต่อเนื่อง หลักสูตรสร้างความศรัทธาเชื่อมั่นต่อ นร. ผปค. ชุมชน หลักสูตรมีระดับมาตรฐาน และตัวชี้วัดที่สอดคล้องกัน หลักสูตรมีการส่งมอบต่อนักเรียนตรงตามพันธกิจ เป้าประสงค์ และตอบวิสัยทัศน์ หลักสูตรพัฒนาตามความต้องการของนักเรียนและชุมชน หลักสูตรมีการประเมิน ทบทวน ติดตามตรวจสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผลทุกปี นิเทศ ติดตามการเรียนการสอนของครูทุกคน ความต้องการภายในของโรงเรียน และภายนอกจากผู้ปกครอง ชุมชน มาตรฐานสากลกำหนดให้ทำ กฎหมายกำหนด

31 ประโยชน์ในการควบคุมกระบวนการ
ตัวอย่าง ข้อกำหนดที่สำคัญของหลักสูตรและกระบวนการทำงาน กระบวนการทำงาน หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน 1. ครูพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active Learning มีนักเรียนจากตลาดใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นทุกปี รักษาและเพิ่มระดับความพึงพอใจของนักเรียนปัจจุบัน ข้อมูล สารสนเทศ เสียงของนักเรียน เป็นปัจจุบัน จัดซื้อ/จัดจ้าง -ตรวจสอบคุณภาพสินค้าจากข้อ กำหนด/กฎระหว่างผู้ส่งมอบกับ รร. สื่อ วัสดุอุปกรณ์การสอนมีคุณภาพสูง มีสื่อ วัสดุอุปกรณ์เทคโนโลยีการสอนตอบสนองต่อกระบวน การเรียนการสอนของครูครบถ้วนทุกวิชา การพัฒนาหลักสูตร 1. วิจัยและพัฒนาหลักสูตร 2. จัดทำผลการประเมินประสิทธิผลและประสิทธิภาพของหลักสูตร หลักสูตรมีการพัฒนาตามความต้องการของนักเรียนและชุมชน หลักสูตรได้รับการประเมิน ทบทวน ติดตามตรวจสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผลทุกปี นิเทศ ติดตามการเรียนการสอนของครูทุกคน การจัดการคลังข้อสอบ -กำหนดมาตรฐานและความลับของแบบทดสอบ แบบทดสอบมาตรฐานจัดเก็บในสภาพที่สมบูรณ์ ปลอดภัย นำไปใช้ได้ทันที การออกแบบหลักสูตร -ข้อมูลความพึงพอใจ-ไม่พึงพอใจ - เปรียบเทียบหลักสูตรกับคู่แข่ง หลักสูตรสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางฯ และ ปรัชญาการศึกษา หลักสูตรที่ออกแบบตรงกับความต้องการของนักเรียนและชุมชน การตรวจสอบคุณภาพ -ผู้รับผิดชอบจัดทำทะเบียนเป็นปัจจุบัน ไม่มีสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยีการสอนที่เสื่อมคุณภาพ การจัดการและพัฒนาบุคคล แผนอัตรากำลังและพัฒนาระยะสั้นและระยะยาว ตัวชี้วัดและประเมินผลการสอนของครูติดตามทุกภาคเรียน ได้บุคลากรมีคุณสมบัติตรงตามความต้องการของหลักสูตรและเพียงพอ บุคลากรได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะให้ทันกับเทคโนโลยีสนับสนุนการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21 ประโยชน์ในการควบคุมกระบวนการ

32 ประโยชน์ในการควบคุมกระบวนการ
ตัวอย่าง ข้อกำหนดหลักสูตรและกระบวนการทำงานที่สำคัญ กระบวนการทำงาน หลักสูตร 1.จัดการเรียนการสอนและประเมินผลในทุกแผนการเรียน 2. ครูทุกคนต้องเป็นที่ปรึกษา ISให้กับนักเรียนอย่างน้อยคนละ 2 ประเด็น 3. ใช้ภาษาอังกฤษ/หรือภาษาที่ นร เลือกสื่อสารกับนักเรียนทุกวันจันทร์ หลักสูตรสาระมาตรฐานสากล แผนการเรียนทุกแผนมีสาระ IS1-3 แผนการเรียนที่เน้นวิทยาศาสตร์เลือกเรียนภาษาเพิ่มอีก 1 ภาษานอกเหนือจากภาษาอังกฤษ มุ่งเน้นพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์และความเป็นพลโลก 1.วิเคราะห์และปรับตัวชี้วัดให้สอดคล้องกับหลักสูตร 60 2. การจัดเรียนการสอนตามแนวทาง STEM หลักสูตรห้องเรียนพิเศษ (STEM) - หลักสูตรสาระวิทย์ คณิต ฯใช้ตัวชี้วัดหลักสูตร 60 มีสาระโครงงานวิทย์ หรือ คณิต และเทคโนโลยี มีภาษาที่ 2 เพิ่มนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ มุ่งเน้นพัฒนาทักษะการคิด การสื่อสารและเทคโนโลยี ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสื่อสารทั้งในและนอกห้องเรียน ครูผ่านการประเมินทักษะภาษาอังกฤษในระดับมาตรฐานสากล หลักสูตรห้องเรียน EP หนังสือแบบเรียนใช้ของ cambridge ใช้การประเมินผลทักษะทางภาษาจากสถาบันมาตรฐาน จัดการเรียนการสอนด้วยครูเจ้าของภาษา มุ่งเน้นทักษะการคิด ชีวิตและการสื่อสารเทคโนโลยี ประโยชน์ในการควบคุมกระบวนการ

33 ข. การจัดการกระบวนการ (1) การนำกระบวนการไปปฏิบัติ โรงเรียนมั่นใจได้อย่างไรว่า การปฏิบัติงานประจำวันของกระบวนการเหล่านี้จะเป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญ โรงเรียนใช้ตัววัดหรือตัวชี้วัด ผลการดำเนินการที่สำคัญ และตัววัดในกระบวนการอะไรในการควบคุม และปรับปรุงกระบวนการทำงาน ตัววัดเหล่านี้เชื่อมโยงกับผลการดำเนินการ และคุณภาพของหลักสูตรที่ได้อย่างไร

34 การควบคุมกระบวนการทำงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดสำคัญ
การควบคุมด้วยตัวชี้วัด : ผลผลิตและผลลัพธ์เป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญ ตัวชี้วัด และผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล ได้ตามความต้องการ KPI In-Process KPI การควบคุมด้วยการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน : กำหนดมาตรฐานการทำงาน Work Manual /Work Instruction กำหนดจุดควบคุมในแต่ละขั้นตอนการปฏิบัติงาน อบรมครูในการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติงานตามวิทยะฐานะ กำกับ ดูแล ติดตาม และประเมินผล ตามจุดควบคุม

35 ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงาน (Performance Improvement System)
6.1 ข(3) การปรับปรุงกระบวนการทำงาน : - โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการปรับปรุงกระบวนการ ทำงาน เพื่อปรับปรุงหลักสูตรและผลการดำเนินการเสริมสร้างความแข็งแกร่งของสมรรถนะหลักขององค์กร และลดความแปรปรวนของกระบวนการ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงาน (Performance Improvement System) ระบุองค์ประกอบสำคัญของระบบการปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อปรับปรุงหลักสูตรและผลการดำเนินการ กระบวนการของโรงเรียนสำหรับการประเมินผล และปรับปรุงกระบวนการที่สำคัญของโรงเรียน

36 ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงานที่โรงเรียนใช้คืออะไร
กระบวนการประเมินผลที่โรงเรียนใช้คืออะไร ? กระบวนการเรียนรู้ระดับองค์กรของโรงเรียนคืออะไร? กระบวนการสร้างนวัตกรรมของโรงเรียนคืออะไร ?

37 ระบบการปรับปรุงผลและพัฒนาคุณภาพโรงเรียนใช้ ISO series, PDCA , ผลประเมินคุณภาพ สมศ.
การประเมินผลดำเนินการ โรงเรียนใช้เครื่องมือ KPI, Balance Scorecard การเรียนรู้ระดับองค์กร โรงเรียนใช้เครื่องมือ Performance Review System การจัดการความรู้ โรงเรียนใช้เครื่องมือ Community of Practice(CoP), Nonaka Model การสร้างนวัตกรรม โรงเรียนใช้ DMADV Model ของ Six Sigma , R2R(Routine to Reseach

38 1.ทบทวนสถานภาพกิจการปัจจุบัน
ระบบคุณภาพ (ISO SERIES) มี 4 ข้อใหญ่ๆ 1.ทบทวนสถานภาพกิจการปัจจุบัน 2.จัดทำแผนการดำเนินงานและระบบเอกสาร 3.นำระบบบริหารงานคุณภาพไปปฏิบัติ 4.ตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบคุณภาพ  

39 ขั้นตอนหลักๆของระบบ Per.Rev.Sys คือ
1.การกำหนดเป้าหมายของผลงานระดับองค์กร  เป็นการกำหนดเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ขององค์กรระยะสั้น(ประจำปี)ระยะปานกลางหรือระยะยาว(3-5 ปี) รวมถึงการจัดทำแผนกลยุทธ์รองรับเป้าหมายที่กำหนดไว้ด้วย 2.การกระจายเป้าหมายองค์กรสู่หน่วยงาน เป็นการเชื่อมโยงเป้าหมายและแผนงานระดับองค์กรสู่หน่วยงานต่างๆที่ขึ้นตรงกับผู้บริหารสูงสุด 3.การจัดทำใบประเมินผลงานพนักงานรายบุคคล เป็นการเชื่อมโยงเป้าหมายหน่วยงานสู่ตำแหน่งงาน และการประเมินผลงานรายบุคคล เชื่อมโยงกับระบบการประเมินผลงานประจำปีที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายโบนัส ปรับค่าจ้างประจำปี หรือผลตอบแทนอื่นๆที่ใช้ผลงานเป็นเกณฑ์ในการให้หรือจ่าย สรุปว่าระบบการบริหารผลงานสมัยใหม่หรือที่เรียกว่า PRS คือการบริหารผลงานในภาพรวมขององค์กรโดยการเชื่อมโยงระบบที่เกี่ยวข้องกับผลงานไม่ว่าจะเป็นเป้าหมายองค์กร งบประมาณประจำปี แผนปฏิบัติการ การบริหารความเสี่ยง ระบบมาตรฐานสากล ตลอดจนถึงระบบการประเมินผลงานประจำปีของพนักงานมาอยู่ด้วยกัน ทั้งนี้เพื่อให้มองเห็นภาพความสัมพันธ์ของผลงานตั้งแต่ระดับองค์กรจนถึงพนักงานได้อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้นนั่นเอง

40 กระบวนการทบทวนผลการปฏิบัติงาน 7 ขั้นตอน (Performance Review System)
1. กําหนดเป้าหมายระดับองค์กร ซึ่งเป็นหน้าที่ของ ผู้บริหารระดับสูง(คณะกรรมการบริหาร รร.)เป็นผู้กําหนด 2. กระจายเป้าหมายระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงาน 3. กระจายเป้าหมายหน่วยงานสู่ผู้ปฏิบัติงาน 4. จัดทํา Balance Sheet ระดับหน่วยงานเพื่อใช้ในการ ควบคุมติดตามผลงาน 5. จัดทําแบบประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคลและ กําหนดระดับผลงานในแต่ละเกรด 6. ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นระยะ ๆ 7. ประเมินผลเพื่อสรุปผลงานประจําปี

41 การวัดผลงานเชิงดุลยภาพ 4 มุมมอง : Balanced Scorecard
1.มุมมอง ด้านการเงิน การเพิ่มรายได้  การลดต้นทุน  การเพิ่มผลผลิต  การใช้ ประโยชน์ทรัพย์สิน  การลดความเสี่ยง   ผลตอบแทนในการ ลงทุน 2.มุมมอง ด้านลูกค้า ความสามารถในการดึงดูดลูกค้าใหม่มาใช้สินค้า การรักษาลูกค้า การสร้างความพึงพอใจ ตัวชี้วัด ได้แก่ จำนวนลูกค้า(คน) ส่วนแบ่งตลาด (%) ยอดขายทั้งปี/จำนวนลูกค้า(บาท) การสูญเสียลูกค้า(คนหรือ%) เวลาเฉลี่ยที่ใช้ในด้านความสัมพันธ์กับลูกค้า(นาที)รายจ่ายทางการ ตลาด(บาท) ความพึงพอใจของลูกค้า ความจงรักภักดีของลูกค้า   จำนวนเรื่องร้องเรียน (เรื่อง)   3.มุมมองด้านกระบวนการ ค่าใช้จ่ายในการบริหาร/รายรับ(บาท) เวลาที่ใช้ในการผลิต(นาที) การส่งสินค้าตรงเวลา(%) เวลาเฉลี่ยในการตัดสินใจ(นาที) เวลาที่ใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์(วัน) การปรับปรุงการผลิต(%)  ค่าใช้จ่ายด้าน IT / ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 4.มุมมองด้านการเรียนรู้และการเติบโต ความพึงพอใจของบุคลากร ดัชนีวัดภาวะผู้นำ ดัชนีวัดแรงจูงใจ สัดส่วน ลูกจ้างที่ออกจากงาน ค่าใช้จ่ายการพัฒนาบุคลากร/จำนวนทั้งหมด

42 การจัดการความรู้ รูปแบบ Nonaka and Takeuchi

43 Six Sigma (6 𝜹 ) Six Sigma คือ เครื่องมือและแนวคิดในการปรับปรุงคุณภาพในองค์กรเพื่อลดความผิดพลาดที่เกิดขึ้นในกระบวนการต่างๆ ให้เหลือน้อยที่สุดโดยใช้หลักการทางสถิติ และมุ่นเน้นลูกค้าเป็นหัวใจสำคัญเพื่อการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการ Define Analyze Improve Control Measure ตรวจสอบให้แน่ใจในผลลัพธ์ที่ได้มา กำหนดแนวทางการแก้ไข ค้นพบ สาเหตุของปัญหา ประยุกต์ใช้ ตลอดจน ดำเนินการโดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลที่เหมาะสม ทำความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหา และผลกระทบต่อการเงิน DMAIC

44 R 2 R 1. R2R (Routine to Research) 2. องค์ประกอบสำคัญ R2R คือ
R2R เป็นเครื่องมือพัฒนาคนใช้พัฒนางาน ขับเคลื่อนไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) 2. องค์ประกอบสำคัญ R2R คือ 1.โจทย์วิจัย R2R 2.ผู้วิจัย 4. การนำเสนอผลการวิจัยไปใช้ 3.ผลลัพธ์ของงานวิจัย 3. R2R ใช้ระเบียบวิธีวิจัย วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) วิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)

45 4. R2R มีผู้ที่เกี่ยวข้องคือ
1 กลุ่มผู้วิจัย R2R: กลุ่มที่ต้องการพัฒนางานประจำค้นหาคำถามวิจัย ที่เป็นกุญแจสู่การพัฒนาการบริการ ผลลัพธ์การทำ R2R คือ ส.ป.ก. (ส. = ความสุขในการทำงาน ป. =เกิดปัญญา ก. = ความก้าวหน้า 2 คุณอำนวย: ผู้อ้านวยความสะดวกต่อกิจกรรม R2R โดยใช้แนวคิด KM เริ่มจากความสำเร็จของกลู๋มคนจำนวนน้อยมาเล่ามาแลกเปลี่ยน และต่อยอด (Success Story telling) 3. ผู้บริหาร: มีความรู้ ความเข้าใจ R2R ให้การสนับสนุน ใช้ R2R เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน เพื่อพัฒนางาน ประจำ นำพาองค์กรไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)

46 ตัวอย่าง ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงาน
คณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน กำหนดองค์ ประกอบสำคัญของระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงานโดยใช้วงจร PDSR ได้แก่ Plan(วางแผน) Do(ปฏิบัติ) Study(เรียนรู้) และ Refine(ปรับแต่ง) โดย เทียบกับตัววัด(KPI)และเป้าหมาย ระบบการปรับปรุง วิธีประเมินผล

47 กิจกรรมที่ใช้ปรับปรุงงานใช้ตลอดเส้นทางคือ ๖ ประการที่ยุทธวิธี “Study”และ“Refine”ได้แก่
๑) การทบทวนหลักสูตรและการสอนกับมาตรฐานการศึกษา ๒) การทบทวน โครงสร้างรางวัล การยกย่องชมเชยและ การตอบแทน ๓) การพัฒนาสมรรถนะหลักครู บุคลากร ทั้งด้านความรู้ เนื้อหา ทักษะกระบวนการ ๔) การทบทวนผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนในระดับต่าง ๆทุก ภาคเรียน ๕) การนำข้อมูลจริงมาใช้ทบทวนและสร้างขึ้นใหม่ และ ๖) การกำหนดนโยบายใหม่

48 กิจกรรมที่ใช้ในการปรับปรุงผลการดำเนินการ
การจัดทำรายงานประเมินตนเองเพื่อการรับรองคุณภาพ การประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนการปฏิบัติที่ดีระหว่างกลุ่มสาระ โดยนำผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการสอบ O-net, การสอบเข้ามหาวิทยาลัย รวมทั้งเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน สพฐ. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก และการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาของประเทศใช้ในการพิจารณาปรับปรุง หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการบริหาร การนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ส่งมอบ พันธมิตร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นำเสนอให้ทุกคน ได้ทราบอย่างทั่วถึง และนำมาปรับระบบการเรียนการสอน การดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การบริหารงานงบประมาณ การบริการทั่วไปและสิ่งที่สังคมต้องการ การทบทวนเป้าหมาย วิสัยทัศน์ร่วม (Share vision) พันธกิจ แผนปฏิบัติการ จุดประสงค์ แนวปฏิบัติ และผลการปฏิบัติ


ดาวน์โหลด ppt หมวด 6 การปฏิบัติการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google