งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับความมั่นคงแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับความมั่นคงแห่งชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับความมั่นคงแห่งชาติ
น.อ.สมชาย สังขมณี วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ

2 ขอบเขตการบรรยาย ๑. ผลประโยชน์ของชาติ
๑. ผลประโยชน์ของชาติ ๒. เครื่องมือในการรักษาผลประโยชน์ของชาติ ๓. วิเคราะห์ผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติในด้าน วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศแลกการสื่อสาร

3 ให้ประเทศมั่นคง ให้ประชาชนอยู่ดีกินดี ให้เป็นที่ยอมรับของสังคมโลก
ผลประโยชน์ของชาติ ให้ประเทศมั่นคง ให้ประชาชนอยู่ดีกินดี ให้เป็นที่ยอมรับของสังคมโลก

4 ให้ประเทศมั่นคง

5 ให้ประชาชนอยู่ดีกินดี

6 ให้เป็นที่ยอมรับของสังคมโลก

7 เครื่องมือในการรักษาผลประโยชน์ของชาติ
ความมั่นคงด้านการเมือง ความมั่นคงด้านเศรษฐกิจ ความมั่นคงด้านการทหาร ความมั่นคงด้านสังคมจิตวิทยา ความมั่นคงด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

8 ความมั่นคงด้านการเมือง

9 ความมั่นคงด้านเศรษฐกิจ

10 ความมั่นคงด้านการทหาร

11 ความมั่นคงด้านสังคมจิตวิทยา

12 ความมั่นคงด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

13 ความหมายของวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์  หมายถึง  วิชาที่ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ ทั้งที่มีชีวติ และไม่มีชีวิต เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ ในธรรมชาติ ทั้งในสภาพนิ่งหรือสภาพที่มีการเปลี่ยนแปลง ตามกาลเวลาและตามสภาพการกระตุ้น  ทั้งจากภายในหรือภายนอก การศึกษาทางวิทยาศาสตร์มีจุดหมายเพื่อแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบจากการสังเกต ตั้งข้อสมมติฐาน พิสูจน์สมมติฐาน ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์             

14 ความหมายของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี  หมายถึง  กระบวนการหรือวิธีการ และเครื่องมือที่ได้จากการนำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่นๆ มาผสมผสานประยุกต์หรือใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์ จึงมีประโยชน์และเหมาะสมเฉพาะเวลาและสถานที่

15 ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความจำเป็นและเพิ่มความสำคัญเป็นลำดับมากขึ้นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์แม้ว่าการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะเอื้ออำนวยในด้านชีวิตความเป็นอยู่ที่สะดวกสบายและอายุยืนนานขึ้น หากการการนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ โดยมิได้พิจารณาอย่างสุขุมรอบคอบและกว้างไกลแล้ว ย่อมเกิดผลเสียต่อสภาพแวดล้อมและสมดุลทางธรรมชาติอย่างมหันต์ เมื่อมองไปข้างหน้า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควรช่วยเตรียมให้มนุษย์มีความพร้อมที่จะเผชิญกับปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต และปัญหาอันเกี่ยวเนื่องกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ข้อที่พึงตระหนัก คือ การดำรงชีวิตของมนุษย์มิใช่เพื่อกอบโกยผลประโยชน์จากธรรมชาติ หรือการทำตนอยู่เหนือธรรมชาติ หากแต่มนุษย์ต้องเรียนรู้ธรรมชาติที่จะดำรงชีวิตอย่างสันติร่วมกับผู้อื่น กับสังคมวัฒนธรรม และกับธรรมชาติ

16 ขอบเขตและสาขาวิชาของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1. วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Sciences) เป็นวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ (Pure Science) หรือวิทยาศาสตร์ขั้นมูลฐาน (Basic Science) เป็นวิชาที่กล่าวถึงเรื่องราวและสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดอยู่ในธรรมชาติทั่วไป ซึ่งแวดล้อมตัวเรา ซึ่งเกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต พลังงาน และวัตถุต่าง ๆ ที่มีในเอกภาพ ซึ่งแบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ ดังนี้                 1.1 ฟิสิกส์ (Physics)                 1.2 เคมี (Chemistry)                 1.3 ชีววิทยา (Biology)                 1.4 ดาราศาสตร์ (Astronomy)

17 2. วิทยาศาสตร์สังคม (Social Sciences) เป็นวิทยาศาสตร์ที่กล่าวถึงชีวิตที่เกี่ยวข้องกับทางสังคมต่าง ๆ หรือเรื่องราวของการสังคมในมวลมนุษย์โดยเฉพาะ ซึ่งแบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ ดังนี้                 2.1 จิตวิทยาและพฤติกรรมศาสตร์ (Psychology and Behavioral Science)                 2.2 เศรษฐศาสตร์ (Economics)                 2.3 รัฐศาสตร์ (Political Science)                 2.4 ศึกษาศาสตร์ (Education)                 2.5 สังคมวิทยา (Sociology) เป็นต้น

18  3. วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science) หรือ วิชา เทคโนโลยี (Technology) คือวิชาที่นำเอาผลของวิชาวิทยาศาสตร์ทางธรรมชาติและสังคมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในการดำรงชีพของมนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ ดังนี้                 3.1 แพทย์ศาสตร์ (Medicine)                 3.2 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineerings)                 3.3 เกษตรศาสตร์ (Agriculture Science)                 3.4 วิทยาศาสตร์การแพทย์ (Medical Science)                 3.5 เภสัชศาสตร์ (Pharmacolology)                 3.6 ทันตแพทยศาสตร์ (Dentisty)                 3.7 สัตวแพทยศาสตร์ (Veterinary)                 3.8 วนศาสตร์ (Agrotorestry)                 3.9 การประมง (Fisheries)

19 การประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ในระยะ 100 ปีที่ผ่านมา เป็นห้วงเวลาที่วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วที่สุด ระยะเวลาการค้นคว้า วิจัย ทดลอง และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้เพื่อประยุกต์ใช้และผลิตสินค้าออกมาใช้ แต่ความก้าวหน้าทางความรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีของไทยมีอัตราช้ามาก แม้ประเทศไทยจะมีการขยายตัวและวิวัฒนาการทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว แต่ก็เป็นการเริ่มจากฐานต่ำ ที่สำคัญก็คือ เป็นการเติบโตและวิวัฒนาการที่อาศัยปัจจัยทั้งหลาย ซึ่งไม่ใช่การมีเทคโนโลยีเป็นตัวแปรสำคัญ ปัจจัยดังกล่าว เช่น พื้นที่การเพาะปลูก การลงทุนจากต่างประเทศ แรงงานที่ถูก ล้วนแล้วแต่กำลังลดบทบาทลง ในขณะที่การเตรียมทุ่มเทส่งเสริมสนับสนุนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยังเป็นไปอย่างเชื่องช้า และค่อยเป็นค่อยไป

20 เนื่องจากกระบวนการพัฒนาในประเทศไทย จากอดีตถึงปัจจุบันมิได้เกิดจากความแข็งแกร่งทางด้านวิทยาศาสตร์พื้นฐาน  และมิได้เกิดจากการมีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ และนำเอาความรู้นั้นไปประยุกต์ใช้เพื่อการผลิต เพิ่มเพิ่มสมรรถนะการผลิต หากเป็นการบริโภคและถ่ายทอดความรู้เป็นด้านหลัก นอกจากนั้นยังไม่มีการทุ่มเททรัพยากรด้านต่างๆ ให้เข้ากับการพัฒนาขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์พื้นฐานอย่างจริงจัง ประเทศไทยจึงไม่อาจก้าวข้ามอุปสรรคที่สำคัญของการพัฒนาไปได้ อุปสรรคนี้คือ การเป็นประเทศที่ไม่สามารถมีเทคโนโลยีที่เป็นของตนเองได้ เมื่อประเทศเจ้าของเทคโนโลยีพัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้น ประเทศไทยจึงตกอยู่ในฐานะที่ต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่นอยู่ตลอดเวลา  ดังนั้นการเริ่มเน้นถึงวิทยาศาสตร์พื้นฐาน จึงเป็นเงื่อนไขสำคัญยิ่งที่ต้องมีการจัดการอย่างรีบด่วน จริงจังและต่อเนื่อง

21 วิเคราะห์ความมั่นคงของชาติ ด้าน วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
วิเคราะห์ความมั่นคงของชาติ ด้าน วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี  ความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศไทย : IMD competitiveness  โครงสร้างพื้นฐานด้าน S&T  นโยบาย : การขับเคลื่อนในอนาคต

22 ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย : IMD competitiveness
Economic Performance Government Efficiency Overall Competitiveness Business Efficiency Basic Infrastructure Technology Science Health & Environment Education

23 Government Efficiency
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย : IMD competitiveness อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ปี จำแนกตามปัจจัยหลัก Economic Performance 6 12 10 14 15 17 18 19 Government Efficiency 22 20 20 27 26 26 30 29 33 27 Business Efficiency 40 42 39 42 46 50 48 Infrastructure 60 25552 2553 2554 2555 2556

24 ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย : IMD competitiveness
1 สิงคโปร์ 8 ไต้หวัน 10 มาเลเซีย 23 เกาหลี 26 ไทย 35 อินโดนีเซีย 39 ฟิลิปปินส์ 58 เวเนซูเอลา ไทย

25 โครงสร้างพื้นฐานด้าน S&T
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย จำแนกปัจจัยย่อยด้าน Infrastructure ปี 2552 – 2556 10 20 26 29 29 Basic Infra 30 35 37 Science Infra 38 36 40 40 40 41 43 Education 45 48 47 46 43 47 48 Tech Infra 49 48 50 48 47 48 50 51 Health and Envi 60 2552 2553 2554 2555 2556 .

26 โครงสร้างพื้นฐานด้าน S&T
อันดับความสามารถในการแข่งขันด้าน Technology Infrastructure ปี 2552 – 2556 : เปรียบเทียบ ไทย - อาเซียน 4 5 6 5 11 6 ไต้หวัน 10 15 14 14 18 21 เกาหลี 20 18 18 17 19 29 มาเลเซีย 31 31 30 35 37 ฟิลิปปินส์ 43 36 40 48 48 ไทย 48 53 50 55 55 52 อินโดนีเซีย 61 60 2552 2553 2554 2555 2556

27 โครงสร้างพื้นฐานด้าน S&T
อันดับความสามารถในการแข่งขันด้าน Science Infrastructure ปี 2552 – 2556 : เปรียบเทียบ ไทย - อาเซียน 4 3 4 5 6 เกาหลี 5 5 10 7 8 12 ไต้หวัน 22 20 28 27 มาเลเซีย 28 31 33 30 ไทย 38 37 40 40 43 40 อินโดนีเซีย 45 49 47 48 50 ฟิลิปปินส์ 54 53 56 56 60 58 2552 2553 2554 2555 2556

28 สัดส่วนค่าใช้จ่ายการวิจัยและพัฒนา รัฐ : เอกชน
หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ เกาหลี 40,000 33,686 35,000 28,619 28,619 24% รัฐ 30,000 23,589 23% 23% 25,000 23% 76% 16,001 20,000 77% 77% 24% 77% 15,000 เอกชน 76% 10,000 5,000 2552 2553 2554 2555 2556 ไทย 700 593 600 504 498 444 64% 500 414 39% 48% รัฐ 400 41% 40% 300 52% 200 61% เอกชน 36% 59% 60% 100 2552 2553 2554 2555 2556 ที่มา : International Institute for Management Development, World Competitiveness Yearbook

29 สัดส่วนนักวิจัยต่อประชากร 1,000 คน รัฐ : เอกชน
หน่วย : คน / ประชากร 1,000 คน 6 เกาหลี 5.56 4.92 31% รัฐ 5 4.48 4.47 28% 3.89 29% 29% 4 31% 69% 72% 3 71% 71% 69% 2 เอกชน 1 0.8 ไทย 0.67 0.65 0.65 0.7 0.57 0.57 84% 80% 83% 0.6 รัฐ 79% 79% 0.5 0.4 0.3 0.2 16% 21% 21% 20% 17% 0.1 เอกชน 2552 2553 2554 2555 2556 ที่มา : International Institute for Management Development, World Competitiveness Yearbook

30 จำนวนสิทธิบัตรที่ออกให้กับประชากรในประเทศ
หน่วย : เรื่อง 90000 80,687 เกาหลี 78,112 80000 70000 59,335 60000 50000 39,650 40000 31,915 30000 20000 10000 60 60 60 99 99 ไทย 2552 2553 2554 2555 2556 ที่มา : International Institute for Management Development, World Competitiveness Yearbook

31 จำนวนคอมพิวเตอร์ต่อประชากร 1,000 คน
หน่วย : เครื่อง 761 เกาหลี 800 712 673 700 633 588 600 500 400 300 200 96 111 66 76 86 ไทย 100 2552 2553 2554 2555 2556 ที่มา : International Institute for Management Development, World Competitiveness Yearbook

32 จำนวนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตต่อประชากร 1,000 คน
หน่วย : คน 900 789.00 755.00 เกาหลี 800 721.15 729.00 702.28 700 600 500 400 300 209.00 178.00 ไทย 140.56 159.00 200 127.20 100 2552 2553 2554 2555 2556 ที่มา : International Institute for Management Development, World Competitiveness Yearbook

33 จำนวนผู้ใช้ Broadband ต่อประชากร 1,000 คน
หน่วย : คน 350 318.37 เกาหลี 303.57 290.76 300 247.94 253.25 250 200 150 100 50 13.89 14.32 ไทย 1.61 0.71 0.69 2552 2553 2554 2555 2556 ที่มา : International Institute for Management Development, World Competitiveness Yearbook

34 นโยบาย : การขับเคลื่อนในอนาคต
ข้อเสนอแนะและมาตรการแก้ไข ประเด็นจุดอ่อนด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ มีข้อเสนอแนะและมาตรการแก้ไขเชิงนโยบาย 1. รัฐต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อสร้าง และพัฒนาบุคลากรวิจัยของภาครัฐและเอกชน สร้างโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการวิจัย และมีการกำหนดทิศทางการวิจัยของประเทศอย่างเด่นชัด และมีการบริหารการวิจัยอย่างเป็นระบบเพื่อแก้ปัญหาของชาติ 2. รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินการวิจัยของภาคเอกชน ทั้งด้านบุคลากรวิจัย และเครื่องมือวิจัย 3. รัฐต้องเร่งผลิตบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และสร้างตลาดงานรองรับ 4. รัฐต้องสร้างความตระหนักแก่สังคม ให้มีความเชื่อทางหลักการของ วิทยาศาสตร์ และการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยี ผ่านทางข่าวสารและ สื่อมวลชน 5. รัฐต้องปรับหลักสูตรการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในระดับโรงเรียนและ มหาวิทยาลัยเพื่อผลิตบุคลากรวิจัยของประเทศ

35 นโยบาย : การขับเคลื่อนในอนาคต
ข้อเสนอแนะและมาตรการแก้ไข ประเด็นจุดอ่อนด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยี มีข้อเสนอแนะและมาตรการแก้ไขเชิงนโยบาย 1. รัฐต้องเพิ่มการลงทุนกิจการโทรคมนาคมของประเทศเพื่อพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานและบุคลากรด้าน Broadband Technology, Satellite Communications, Fiber-optic Infrastructure และ Geographical Information System (GIS) 2. รัฐต้องลดค่าใช้จ่ายการสื่อสารมูลฐาน เช่น ค่าโทรศัพท์และค่าอินเตอร์เน็ต 3. รัฐต้องสร้างโครงสร้างพื้นฐานเพื่อผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสาร ขึ้นในประเทศ

36 กับความมั่นคงแห่งชาติ
การพลังงาน กับความมั่นคงแห่งชาติ น.อ.สมชาย สังขมณี 36

37 สถานการณ์พลังงานโลก สถานการณ์ด้านพลังงานของประเทศไทย ปัจจัยคุกคามต่อที่ส่งผลต่อความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศไทย ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน

38 สถานการณ์พลังงานโลก 38 38

39 ความต้องการด้านพลังงานเพิ่มสูงขึ้นตามจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น
สถานการณ์การใช้พลังงานโลกในปัจจุบัน 39 39 39

40 สถานการณ์การใช้พลังงานโลกในปัจจุบัน
ความต้องการด้านพลังงานเพิ่มสูงจากเศรษฐกิจที่เติบโต 40

41 โลกพึ่งพาน้ำมันปิโตรเลียมในสัดส่วนที่สูง
Million Tonnes oil equivalent coal Nuclear energy hydroelectricity Natural Gas oil น้ำมันปิโตรเลียมเป็นพลังงานหลัก ที่โลกพึ่งพา (ร้อยละ 35) source: BP Statistical Review of World Energy 2013

42 ปริมาณสำรองน้ำมันของโลกกระจุกตัวอยู่ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
M.E % S. &C. America 14.9% Europe & Eurasia % Africa 9.6% North America 5.5% Asia Pacific 3.2% 73.3 127.7 136.9 754.2 198.9 42.2 World crude oil reserve in 2013 ~ 1,333 Billion barrel Asia Pacific North America Africa Europe & Eurasia South & Cent.America Middle East unit: Billion barrel source: BP Statistical Review of World Energy 2013 42

43 ประเทศโอเปคไม่กี่ประเทศมีอิทธิพลอย่างสูงในตลาดน้ำมันโลก
OPEC ผลิตน้ำมันดิบส่งออกเฉลี่ยปริมาณวันละ 30 million barrels (มกราคม 2013)  คิดเป็นประมาณ 37 ของตลาดโลก Source: OPEC Monthly Oil Report Feb 2011

44 ราคาน้ำมันโลกมีความผันผวนในระดับสูง
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อราคาน้ำมันล่าสุด เช่น เหตุการณ์ความวุ่นวายในประเทศอิยิปต์ ที่ก่อให้เกิดความกังวลเกี่ยวกับช่องทางการขนส่งน้ำมัน

45 ก๊าซ CO2 จากการใช้พลังงานเป็นสาเหตุหนึ่งของภาวะโลกร้อน
5. จะต้องมีการส่งเสริมการกระจายแหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก (Distributed Generation: DG) 6. จะต้องมีการส่งเสริมการพัฒนาพลังงงานสะอาด (CDM) 7. จะต้องมีการเสริมสร้างการพัฒนาพลังงานไฟฟ้าที่ยั่งยืน (Sustainable Power Development) 45 45

46 สรุปสถานการณ์พลังงานโลก
โลกต้องการพลังงานมากขึ้นเรื่อยๆ จากประชากรที่เพิ่มมากขึ้นและเศรษฐกิจที่เติบโต น้ำมันเป็นพลังงานหลักที่โลกพึ่งพา ตลาดน้ำมันมีความผันผวนจากปัจจัยต่างๆ ประเทศไม่กี่ประเทศผู้ขายไม่กี่ประเทศมีอิทธิพลต่อราคาน้ำมัน สภาวะโลกร้อนเป็นปัจจัยสำคัญที่จะกำหนดรูปแบบการใช้พลังงานของโลกในอนาคต 46

47 สถานการณ์ด้านพลังงาน
ของประเทศไทย

48 ปริมาณสำรองของพลังงานในประเทศไทย ปริมาณสำรองพลังงานที่มีจำกัด
“ประเทศไทยมีปริมาณสำรองก๊าซฯ (2P) 23 ล้านล้าน ลบ.ฟุต ซึ่งหากใช้ในอัตราปัจจุบันจะมีเหลือใช้ได้เพียง 18 ปี หากไม่มีการค้นพบเพิ่มเติม” 48 48

49 ปริมาณสำรองปิโตรเลียมภายในประเทศมีจำกัด
พิสูจน์แล้ว ยังไม่ได้พิสูจน์ รวม Proved reserve Probable reserve Possible reserve ก๊าซธรรมชาติ (พันล้านลบ.ฟุต) 11,026 12,665 6,170 29,861 คอนเดนเสท (ล้านบาร์เรล) 255 336 86 677 น้ำมันดิบ 180 471 170 821 - 49 - *ปริมาณ ณ สิ้นปี 2555

50 การใช้ การผลิต การนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น
หน่วย: เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน 2551 2552 2553 2554 2555* การใช้ 1,545 1,604 1,618 1,663 1,787 การผลิต 765 794 850 895 990 การนำเข้า (สุทธิ) 978 998 952 922 การนำเข้า / การใช้ (%) 63 62 59 55  อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)  1.6 3.8 0.9 2.8 7.9 3.7 7.1 5.2 11.5 การนำเข้า(สุทธิ) -0.2 2.0 -4.6 -3.2 5.5 ประเทศไทยพึ่งพาการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศกว่าครึ่งของความต้องการใช้ *ข้อมูลเดือน ม.ค. - พ.ย. 50

51 การผลิตน้ำมันดิบ หน่วย:บาร์เรล/วัน 2550 2551 2552 2553 2554 2555* เบญจมาศ 45,819 50,004 42,132 44,960 29,067 27,018 สิริกิติ์ 17,129 18,775 20,511 20,942 21,324 21,972 ทานตะวัน 6,650 8,296 7,703 6,505 6,196 3,869 ยูโนแคล 29,794 38,679 39,215 35,559 33,766 38,017 จัสมิน 5,768 8,649 19,267 18,292 13,637 13,936 บัวหลวง - 3,324 8,916 8,420 อื่นๆ 8,730 4,547 5,735 14,353 41,135 41,886 รวมในประเทศ 113,890 128,950 134,563 143,935 154,041 155,118 นำเข้า 827,702 829,300 804,242 811,561 803,362 808,827 รวมทั้งหมด 941,592 958,250 938,805 955,496 957,403 963,945 ประเทศไทยนำเข้าน้ำมันดิบประมาณร้อยละ 84 ของความต้องการใช้ *ข้อมูลเดือน ม.ค. - พ.ย. 51

52 การผลิตก๊าซธรรมชาติ 2550 2551 2552 2553 2554 2555* บงกช 605 627 629
หน่วย:ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน 2550 2551 2552 2553 2554 2555* บงกช 605 627 629 604 540 593 เอราวัณ 277 278 275 244 256 ไพลิน 435 438 457 431 417 อาทิตย์ - 418 499 เจดีเอ 126 441 645 อื่นๆ 975 1,010 1,151 1,064 930 1,080 รวมในประเทศ 2,292 2,353 2,515 2,778 2,990 3,504 นำเข้า (พม่า) 857 869 906 828 803 856 รวมทั้งหมด 3,149 3,222 3,421 3,606 3,794 4,361 *ข้อมูลเดือน ม.ค. - พ.ย.

53 การจัดหาพลังงานของประเทศไทย
19/11/61 Domestic/Import Domestic Import ประเทศไทยพึ่งพาการนำเข้าน้ำมันดิบจากต่างประเทศในสัดส่วนสูง 53 53 53 53 53

54 การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย พ.ศ. 2555
ปริมาณ 1,199 พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน มูลค่าการใช้พลังงาน 1.92 ล้านล้านบาท* *ประมาณการ 54

55 การใช้น้ำมันสำเร็จรูปต่อวัน ปริมาณการใช้ก๊าซ LPG และ NGV
ชนิดน้ำมัน ล้านลิตร/วัน น้ำมันแก๊สโซฮอล 12.0 น้ำมันเบนซิน 8.3 น้ำมันดีเซล 50.6 น้ำมันเตา 7.2 ปริมาณการใช้ก๊าซ LPG และ NGV ก๊าซ LPG (ล้าน กก./วัน) 15.0 NGV (ล้านลูกบาศ์กฟุต/วัน) 210.0 ข้อมูลเฉลี่ย ม.ค.-ธ.ค. 2555 55 7

56 การใช้ไฟฟ้ารายเดือน 2555 2554 2553 2551 2552 2550 การใช้ไฟฟ้าในปี 2555 มีการเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเทียบกับปี 2554 56

57 ปัจจัยคุกคามต่อที่ส่งผลต่อความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศไทย
ประเทศไทยมีทรัพยากรปิโตรเลียมในประเทศที่จำกัด  พึ่งพาการนำเข้าน้ำมันดิบจากต่างประเทศในสัดส่วนที่สูง การพึ่งพาก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้าในสัดส่วนสูง ราคาพลังงานที่อยู่ในระดับสูง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชน การใช้พลังงานของประเทศยังไม่มีประสิทธิภาพ 57 7

58 ประเทศไทยมีทรัพยากรปิโตรเลียมในประเทศที่จำกัด
ประเทศไทยบริโภคน้ำมันดิบประมาณวันละ 964,000 บาร์เรลต่อวัน ร้อยละ 84 ของน้ำมันดิบมาจากการนำเข้า ปริมาณการผลิตในประเทศเป็นสัดส่วนต่ำ จากข้อจำกับด้านทรัพยากร 58 7

59 ประเทศไทยพึ่งพาก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้าในสัดส่วนที่สูง
น้ำมัน พลังน้ำ นำเข้า ถ่านหิน/ลิกไนต์ พลังงานหมุนเวียน ก๊าซธรรมชาติ ปัจจุบันประเทศไทยพึ่งพาก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้ามากถึง 71% ถือเป็นความเสี่ยงประการหนึ่ง

60 วิกฤตก๊าซธรรมชาติขาดที่ผ่านมา
ก.พลังงานเตรียมแผนรับมือก๊าซธรรมชาติพม่าหยุดจ่าย 16 วัน ทั้งเพิ่มกำลังผลิตก๊าซฯจากอ่าวไทย-ใช้น้ำมันเตาและดีเซลผลิตไฟแทน ทำต้นทุนค่าเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้น 1.8 พันล้านบาท 60

61 ราคาพลังงานอยู่ในระดับสูง
ด้วยการนำเข้าน้ำมันในสัดส่วนที่สูงทำให้ราคาน้ำมันในตลาดโลกส่งผลต่อราคาน้ำมันในประเทศโดยตรง ส่งผลต่อต้นทุนการผลิตและค่าครองชีพของประชาชน

62 ข้อจำกัดของการใช้พลังงานจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทำให้การใช้พลังงานของโลกมีข้อจำกัด โดยเฉพาะพลังงานจากฟอสซิล 62 7

63 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชน
ความเสี่ยงด้านความมั่นคง มีการต่อต้านโครงการด้านพลังงานในทุกระดับ กระทบต่อการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน เพื่อรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้นทุกวัน 63

64 การใช้พลังงานของประเทศยังไม่มีประสิทธิภาพ
การใช้พลังงานของประเทศส่วนใหญ่อยู่ในภาคขนส่งและอุตสาหกรรม ซึ่งมีศักยภาพในการเพิ่มประสิทธิภาพได้ Energy Intensity หรือการใช้พลังงานต่อ GDP ของประเทศไทยยังสูงกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว  มีช่องทางที่เพิ่มประสิทธิภาพได้อีก

65 1 5 2 4 3 นโยบายพลังงานที่รัฐบาลแถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 29 ธ.ค. 51
ความมั่นคง ด้านพลังงาน 2 นโยบาย ดูแลสิ่งแวดล้อมควบคู่กับการพัฒนาพลังงาน 4 นโยบาย น้ำมัน ก๊าซ ไฟฟ้า พลังงานทดแทน พลังงานทดแทน เป็นวาระแห่งชาติ นโยบาย 3 กำกับดูแลราคาความปลอดภัย ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สนับสนุนโครงการ CDM E85 แก๊สโซฮอล ไบโอดีเซล NGV พลังงาน ลม แสงแดด ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ พลังน้ำขนาดเล็ก นโยบาย โครงสร้างราคาสะท้อนต้นทุน พัฒนาคุณภาพการให้บริการ กำกับความปลอดภัยในการให้บริการ การอนุรักษ์พลังงานและประสิทธิภาพ มาตรการอนุรักษ์พลังงาน กำหนดมาตรฐานประหยัดพลังงาน ส่งเสริมการลงทุนด้านการอนุรักษ์พลังงานในภาคเอกชน 65 65 65

66 ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน การสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ
นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ 1 การพึ่งพาตนเองด้าน พลังงาน 2 พลังงานทดแทนเป็น วาระแห่งชาติ 3 กำกับดูแลราคา พลังงานให้เหมาะสม 4 ส่งเสริมการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ 5 การพัฒนาพลังงาน อย่างมีดุลยภาพกับ สิ่งแวดล้อม ประสิทธิผลยุทธศาสตร์ คุณภาพบริการ ประสิทธิภาพการปฏิบัติ การพัฒนาองค์กร ยุทธศาสตร์ที่ 2 การกำกับดูแลกิจการพลังงานและกิจการที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคธุรกิจพลังงาน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาพลังงานอย่างมีดุลยภาพต่อสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเป็นองค์กรสมรรถนะสูงที่ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล 66

67 การสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ

68 การสร้างความมั่นคงด้านปิโตรเลียม
เร่งขยายการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมภายในประเทศ แสวงหาแหล่งพลังงานจากต่างประเทศ การนำเข้า LNG การสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน เช่น ASCOPE แหล่ง M9 ในพม่า

69 การให้สัมปทานปิโตรเลียมในประเทศไทย
65 สัมปทาน 84 แปลงสำรวจ (ณ วันที่ 30 เม.ย.53) แปลงสำรวจ 3 - อันดามัน 65 19 รวม 24 13 อ่าวไทย 38 6 บนบก สำรวจ ผลิตแล้ว แหล่งปิโตรเลียมที่มีการผลิต 59 แหล่ง ในประเทศ 53 แหล่ง ในพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย 29 แหล่ง 69

70 Petroleum Development Area from the Thai - Malaysia
BONGKOT BLOCK B-17 BLOCK A-18 BLOCK C-19 Songkhla Pattani Kota Bahru THAILAND MALAYSIA GULF OF THAILAND APPROX. 260 KM APPROX. 180 KM APPROX. 100 KM APPROX. 120 KM APPROX. 150 KM APPROX. 310 KM TO KERTEH JERNEH 50 Km LEGEND PTTEPI/CARIGALI CARIGALI/TRITON แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติของประเทศไทยจากแหล่ง JDA (ตาม DCQ ) แปลง A-18: 400 ล้านลบ.ฟุต/วัน เป็นระยะเวลา 20 ปี เริ่มตั้งแต่ปลายปี 2551 แปลง B-17: 270 ล้านลบ.ฟุต/วัน เป็นระยะเวลา 10 ปี เริ่ม ตั้งแต่ปลายปี 2552 70

71 รูปแสดงบริเวณเกิดเหตุ
Security of oil and natural gas รูปแสดงบริเวณเกิดเหตุ NPS 36” NPS 24” พิธีลงนามสัญญาฯแหล่งซอติกาในสหภาพพม่า 30 ก.ค.2553 ปริมาณก๊าซ 240ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน สัญญาฯอายุ 30ปี แปลงสำรวจ M9 กพช. เห็นชอบเมื่อ 28 ธ.ค. 2552 71

72 LNG – พลังงานทางเลือกสำหรับประเทศไทย
Production Liquefaction Trading & Marketing Shipping Regasification & Terminal Markets LNG Value Chain LNG เสริมความมั่นคงให้กับระบบ ก๊าซธรรมชาติ ตั้งเป้าดำเนินการปี 2012 ตั้งที่ จ.ระยอง Since over the long run the demand for gas continues to grow faster than the development of the domestic gas supply, we need to find the supplementary supply source at the right time and at competitive price to cope with those growing demand. LNG seems to be the long term gas supply solution for Thailand. As you know, there are now abundant potential supply sources from many regions such as Malaysia, Indonesia, Australia, Russia, and the Middle East. Also, LNG prices become competitive because of technological improvements and increased supply competition. Commercial terms are becoming more flexible with an increasing trend of spot or short - term contract sales. In our plan a LNG receiving terminal with a capacity of 5 million tons is expected to commission by 2011 The terminal will be located in Thailand’s eastern seaboard at Map Ta Phud, 170 kilometers from Bangkok, and the associated infrastructure will be integrated with our existing supply network LNG Ship LNG Jetty & Terminal LNG Storage Tank 72 72

73 การสร้างความมั่นคงด้านไฟฟ้า
จัดทำแผนการผลิตไฟฟ้าที่สอดคล้องกับความต้องการใช้ กระจายเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า แสวงหาแหล่งพลังงานไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน สร้างความร่วมมือด้านพลังงานไฟฟ้ากับต่างประเทศ

74 การจัดหาไฟฟ้าจากต่างประเทศ
ที่ซื้ออยู่ปัจจุบัน - เทินหินบุน MW ห้วยเฮาะ MW - น้ำเทิน MW อยู่ระหว่างก่อสร้างหรือทดสอบเครื่อง - น้ำงึม MW (2554) - เทินหินบุนส่วนขยาย 220 MW (2555) ทำสัญญาซื้อไฟฟ้าจาก สปป.ลาว / สหภาพพม่า โครงการหงสาลิกไนต์ = 1,473 MW (ปี 2558) Tariff MOU โครงการมายกก = 369 MW (ปี 2559) โรงไฟฟ้าไชยบุรี สปป.ลาว = 600 MW (ปี 2559) Tariff MOU โครงการน้ำงึม 3 = 440 MW (ปี 2560) นโยบายที่ 1: ความมั่นคงด้านพลังงาน - 74 - 15

75 การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองมีการเปลี่ยนแปลง สังคมไทยและคนไทยพัฒนาสู่สังคม ประชาธิปไตยยุคใหม่ ภาคสังคมและประชาชนมีการพัฒนาและเรียกร้องสิทธิในการรับรู้ ตัดสินใจ และมีส่วนร่วม “สำนักประสานการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม” ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม PR CSR EIA HIA SEA 75

76 การพัฒนาพลังงานทดแทน

77 ยุทธศาสตร์การพัฒนาพลังงานทดแทน พ.ศ. 2551-2565
ESCO Fund CDM น้ำขนาดเล็ก ลม แสงอาทิตย์ ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ พลังงานขยะ ไฮโดรเจน มาตรการส่งเสริม BOI/ เงินทุนหมุนเวียน 2.4% ผลิตไฟฟ้า Adder cost R&D 7.6% แสงอาทิตย์ ขยะ ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ผลิต ความร้อน 6.4% 15.6% 19.1% 20.3% ** นโยบายข้อที่ 2 พลังงานทดแทน เป็นวาระแห่งชาติ เอทานอล ไบโอดีเซล เชื้อเพลิงชีวภาพ ทดแทนพลังงานได้ 4,237 ktoe/ปี ลดการนำเข้าพลังงาน 99,500 ล้านบาท/ปี ลดก๊าซเรือนกระจก 13 ล้านตัน/ปี 4.1% NGV ทดแทนพลังงานได้ 19,700 ktoe/ปี ลดการนำเข้าพลังงาน 461,800 ล้านบาท/ปี ลดก๊าซเรือนกระจก 42 ล้านตัน/ปี NGV 6.2% 2551* 2554 2559 2565 77 ประเมินที่ราคาน้ำมันดิบเฉลี่ยปี 2551 ที่ ดอลล่าร์สหรัฐต่อบาร์เรล 77 77 77 77

78 การดำเนินโครงการ NGV กำลังการผลิต NGV Volume Mother + Conventional
รถ 3,998 สถานีฯ 28 รถ 10,285 สถานีฯ 43 รถ 25,371 สถานีฯ 102 รถ 55,868 สถานีฯ 166 รถ 127,735 สถานีฯ 303 รถ 162,020 สถานีฯ 391 รถ ,668 สถานีฯ 5,872 T/D 5,055 3,740 2,057 กำลังการผลิต NGV Volume 652 153 260 85 Mother + Conventional 8,530 T/D 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 78

79 การอนุรักษ์พลังงานและประสิทธิภาพ
นโยบายที่ 3: การอนุรักษ์พลังงานและประสิทธิภาพ

80 3. นโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและประสิทธิภาพ
มาตรการด้านกฎหมาย: การบังคับทางกฎหมายเพื่อต้องการเน้นให้ประหยัดพลังงานอย่างจริงจัง มาตรการด้านการบริหาร: มาตรการบริหารพลังงานสนับสนุนและการส่งเสริม มาตรการด้านสังคม: สร้างจิตสำนึกเปลี่ยนพฤติกรรมให้ประหยัดพลังงานในชีวิตประจำวัน 3. นโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและประสิทธิภาพ 23

81 การกำกับดูแลราคา ความปลอดภัย
นโยบายที่ 4: การกำกับดูแลราคา ความปลอดภัย

82 กำกับราคาพลังงานให้เป็นธรรมและมีเสถียรภาพ
โครงสร้างราคา ให้สะท้อนต้นทุน ที่แท้จริง พัฒนาคุณภาพ บริการ ความปลอดภัย ในกิจการพลังงาน 82 82

83 4. นโยบายการกำกับดูแลราคาและความปลอดภัย
ลดผลกระทบต่อประชาชนจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำโดย ตรึงราคาค่า Ft สำหรับผู้ใช้ไฟรายย่อย ที่ใช้ไฟไม่ถึง 90 หน่วยต่อเดือน  ฟรี ตรึงราคาขายปลีกก๊าซหุงต้มในประเทศที่ราคา บาท/กก. จนถึง ก.พ. 56 4. ตรึงราคา NGV ที่ราคา 8.50 บาท/กก. จนถึง ก.พ. 56 20

84 การดูแลสิ่งแวดล้อมควบคู่กับ
นโยบายที่ 5: การดูแลสิ่งแวดล้อมควบคู่กับ การพัฒนาพลังงาน

85 5. นโยบายด้านการดูแลสิ่งแวดล้อม นโยบายที่ 5: การดูแลสิ่งแวดล้อม
เป้าหมายของประเทศไทยในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก พลังงานทดแทน (RE); REDP ล้านตัน/ปี คิดเป็นมูลค่าการปรับลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 21,000 ล้านบาท ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (EE) ล้านตัน/ปี คิดเป็นมูลค่าการปรับลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 15,000 ล้านบาท *ไม่รวมการประหยัดพลังงานในภาคขนส่ง นโยบายที่ 5: การดูแลสิ่งแวดล้อม 27

86 จำนวน 2 โครงการที่ได้รับการออกหนังสือรับรองปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ (Issuance of CERs) ดังนี้ 1. โครงการ A.T. Biopower Rice Husk Power Project ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ที่ได้รับการรับรองแล้ว เท่ากับ 100,678 ตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (21 Dec 2005 – 30 Jun 2007) 2. โครงการ Korat Waste to Energy ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ที่ได้รับการรับรองแล้ว เท่ากับ 714,546 ตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (1 May 2003 – 16 Jun 2007) * Update: 28 ม.ค.56

87 “การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กับความมั่นคงของชาติ

88 ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย

89 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 (มาตรา 78)
กำหนดให้รัฐดำเนินการบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิ่จ และความมั่นคงของประเทศอย่างยั่งยืน รวมถึงการจัดทำและการให้บริการสาธารณะ ระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปกรณ์ รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศในท้องถิ่นให้ทั่วถึงเท่าเทียมกันทั่วประเทศ

90 นโยบายของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2553
นโยบายของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2553 พัฒนาโครงข่ายสื่อสารโทรคมนาคมพื้นฐานให้ครอบคลุมทั่วประเทศ และสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการสื่อสารอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อให้ประชาชน ชุมชน และองค์กรต่างๆ สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสารและความรู้ได้อย่างทั่วถึงและสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยไปสู่เศรษฐกิจฐานความรู้ รวมทั้งพัฒนาบริการสื่อสารที่ทันสมัย เพื่อรองรับความต้องการของภาคธุรกิจและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการให้บริการภาครัฐ บริการศึกษา บริการสาธารณสุข และโลจิสติกส์ เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

91 กรอบนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย
ทิศทางการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย กรอบนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย IT2000 (พ.ศ ) :  โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (IT)  การพัฒนาบุคลากรด้าน IT  การปฏิรูปภาครัฐโดยใช้ IT IT2010 (พ.ศ ) : วิสัยทัศน์  นำสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge - based Society / Knowledge - base Economy : KBS/KBE) ยุทธศาสตร์ 5e แผนแม่บท ICT ฉบับที่ 1 (พ.ศ ) : วิสัยทัศน์  ICT Hub ของภูมิภาค+เข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง  7 ยุทธศาสตร์ แผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2 (พ.ศ ) 91

92 ความเชื่อมโยงระหว่างแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารของประเทศไทย และแผนต่างๆ 2539 2540 2541 2542 2543 1 IT2000 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2 IT-2010: กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ ( ) ของประเทศไทย แผนแม่บท ICI ฉบับที่ 1 พ.ศ ( ) ของประเทศไทย 3 นโยบายรัฐบาล พ.ศ.2551 4 แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ 5 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ ) 6 7 IT-2020 : กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ ( ) ของประเทศไทย 92 8 แผนแม่บท ICI ฉบับที่ 2 ของประเทศไทย พ.ศ (ค.ศ )

93 วิสัยทัศน์-พันธกิจ-วัตถุประสงค์
1. พัฒนากำลังคนที่มี คุณภาพและปริมาณ เพียงพอ 2. พัฒนาโครงข่าย ICT ความเร็วสูง 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการ ICT ที่มีธรรมาภิบาล วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเพิ่มปริมาณและศักยภาพ ของกำลังคน 2. สร้างธรรมาภิบาลในการ บริหารจัดการ ICT 3. สนับสนุนการปรับโครงสร้าง การผลิต 4. สร้างความเข้มแข็งของชุมชน และปัจเจกบุคคล 5. สร้างศักยภาพของธุรกิจและ อุตสาหกรรม ICT วิสัยทัศน์ “SMART” Thailand พันธกิจ และวัตถุประสงค์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของแผนแม่บทฯ ฉบับที่ 2 ประกอบด้วย พัฒนากำลังคน ที่มีคุณภาพและปริมาณเพียงพอ เพื่อเพิ่มปริมาณและศักยภาพของกำลังคน และสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและปัจเจกบุคคล พัฒนาโครงข่าย ICT ความเร็วสูง เพื่อสนับสนุนการปรับโครงสร้างการผลิต และสร้างศักยภาพของธุรกิจและอุตสาหกรรม ICT พัฒนาระบบบริหารจัดการ ICT ที่มีธรรมาภิบาล เพื่อสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ ICT

94 วิสัยทัศน์ของแผนแม่บท ICT (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556
ประเทศไทยเป็นสังคมอุดมปัญญา (Smart Thailand) ด้วย ICT “สังคมอุดมปัญญา” ในที่นี้หมายถึง สังคมที่มีการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างชาญฉลาด โดยใช้แนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับมีความเฉลียวฉลาด (Smart) และรอบรู้สารสนเทศ (Information Literacy) สามารถเข้าถึง และใช้สารสนเทศอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนและสังคม มีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีธรรมาภิบาล (Smart Governance) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสู่เศรษฐกิจและสังคมฐานความรู้และนวัตกรรมอย่างยั่งยืนและมั่นคง สรุปหลักการและสาระสำคัญของแผนแม่บทฯ ฉบับที่ 2 วิสัยทัศน์ของแผนแม่บทฯ ในแผนแม่บทฯ ฉบับที่ 2 ได้กำหนดวิสัยทัศน์ให้ประเทศไทยเป็นสังคมอุดมปัญญา (SMART THAILAND) ด้วย ICT ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนใช้สารสนเทศอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน เพื่อพัฒนาประเทศสู่สังคมเศรษฐกิจฐานความรู้

95 5. ระบบเครือข่ายข้อมูลภาครัฐ Government Information Network
พัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐ (GIN) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงหน่วยงานภายในของภาครัฐเข้าด้วยกันโดยมีลักษณะเป็น Government Intranet เชื่อมโยงหน่วยงานระดับกระทรวง และระดับกรม เพื่อใช้ในงานบริหารราชการและให้บริการประชาชน ครอบคลุมทั่วประเทศ ซึ่งมีแผนงานการดำเนินการ 3 ปี ( ) คือ ปีที่ 1 เชื่อมโยงหน่วยงานระดับกระทรวง กรม ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล จำนวน 278 หน่วยงาน ปีที่ 2 ขยายการเชื่อมโยงเครือข่ายฯเพิ่มเติมในส่วนภูมิภาค อีก 222 หน่วยงาน 35 จังหวัด ปีที่ 3 ขยายการเชื่อมโยงเครือข่ายฯให้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ โดยทำการเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐ อีก 40 จังหวัด รวมทั้งสิ้น ประมาณ 227 หน่วยงาน

96 6. ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
ผลักดันให้ประเทศไทยเข้าสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge Based Society) เทียบเท่ากับนานาประเทศ ลดช่องว่างทางด้าน (Digital Divide) ระหว่างสังคมไทยกับสังคมโลก และระหว่างชนบทกับเมือง รวบรวมองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการดำรงชีวิตและสร้างงาน สร้างอาชีพ ตลอดทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิต

97 6. ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน (ต่อ)
สื่อกลางในการติดต่อประสานงาน ร่วมมือ ตลอดทั้งรับรู้ข้อมูลข่าวสารภาครัฐสู่ชุมชน สนับสนุนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อบรมบุคลากรในชุมชนให้มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ การร่วมมือระหว่างกระทรวง ICT กับผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน

98 7. นโยบายบรอดแบรนด์แห่งชาติ
สอดคล้องรัฐธรรมนูญ ปี 2550 และนโยบายรัฐบาล ลดช่องว่างการเข้าถึงของประชาชน Digital Divide สนับสนุนการศึกษาสาธารณสุขเตือนภัย เป้าหมาย - ปี % - ปี %

99 7. นโยบายบรอดแบรนด์แห่งชาติ (ต่อ)
วัตถุประสงค์ - โรงเรียนระดับตำบลเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ปี 2558 - โรงพยาบาล (ในตำบล) สามารถเข้าถึงบริการบรอดแบนด์ที่มีคุณภาพในปี 2558 - บริการของรัฐผ่านโครงข่ายบรอดแบนด์เพื่อบริการประชาชนในระดับตำบล - ระบบเตือนภัยธรรมชาติมีประสิทธิภาพโดยประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารได้รวดเร็ว - สนับสนุนภาคเอกชน - ลดพลังงานและสมดุลย์โลกร้อน

100 ผลกระทบจากการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม

101 ปัญหาความเจริญเติมโตทางเศรษฐกิจในระยะที่ผ่านมามีอัตราสูงมาก

102 ปัญหามลพิษทางอากาศในกรุงเทพมหานครและเมืองใหญ่ๆ

103 ผลกระทบจากขบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมต่อสิ่งแวดล้อม

104

105 ผลกระทบจากขบวนการผลิตทางเกษตรกรรมต่อสิ่งแวดล้อม

106 ผลกระทบจากขบวนการผลิตทางเกษตรกรรมต่อสิ่งแวดล้อม

107 ผลกระทบจากขบวนการผลิตทางเกษตรกรรมต่อสิ่งแวดล้อม


ดาวน์โหลด ppt วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับความมั่นคงแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google