งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

New Chapter of Investment Promotion

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "New Chapter of Investment Promotion"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 New Chapter of Investment Promotion
23 กุมภาพันธ์ 2560

2 ทิศทางการลงทุนเพื่อก้าวไปสู่ Thailand 4.0

3 ให้ความสำคัญกับ “คนและเทคโนโลยี” เป็นลำดับแรก
New Chapter of Investment Promotion Thailand 4.0 Investment 4.0 Core Technology Industrial Cluster Bio-tech Agriculture & Food Bio-Med Health & Wellness Mechatronics Smart Devices & Robotics Embedded Technology Digital & IOT Service Design & Technology Creative, Culture and High Value Services From To Volume-based Value-based Capital-driven Innovation-driven Physical capital Human capital Manufacturing High value services Sector-based & Standard Tax Incentive Whole “tailored” packages & Negotiations ให้ความสำคัญกับ “คนและเทคโนโลยี” เป็นลำดับแรก Investment-led Transformation Human Resource Technology Targeted Industries Infrastructure Enterprise

4 นโยบายส่งเสริมการลงทุนในปี 2560

5 พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุนฉบับแก้ไข พ.ร.บ.เพิ่มขีดความสามารถฯ
แนวทางการดำเนินงานภายใต้ พ.ร.บ. 2 ฉบับ เป้าหมาย ส่งเสริม Sector-based ส่งเสริมการลงทุนใน อุตสาหกรรมเป้าหมาย ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ 7 ปี (พ.ศ.2558 – 2564) Technology-based ส่งเสริมการลงทุนใน เทคโนโลยีหลัก ที่ประเทศไทยมีศักยภาพสูง Strategic Investment ส่งเสริมการลงทุนตามแนวทาง Thailand 4.0 ที่ตอบโจทย์ประเทศ (National Agenda) และเป็นการลงทุนใหม่ๆ ที่มี impact สูง ซึ่งไม่สามารถดึงดูดได้ด้วยเครื่องมือเดิม สิทธิประโยชน์หลัก ยกเว้น CIT ไม่เกิน 8 ปี ลดหย่อน <50% ไม่เกิน 10 ปี หักเงินลงทุนไม่เกิน 70% ของเงินที่ลงทุนแล้ว จากกำไรสุทธิภายใน 10 ปี (ITA) ยกเว้นอากรเครื่องจักร วัตถุดิบ และของที่ใช้ R&D สิทธิประโยชน์ Non-tax เช่น ถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน นำเข้าผู้ชำนาญการต่างชาติ ยกเว้น CIT 9-13 ปี สำหรับกิจการที่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นสูง หรือกิจการวิจัยและพัฒนา ตามที่คณะกรรมการกำหนด สิทธิประโยชน์อื่นตาม พ.ร.บ.BOI ยกเว้น CIT ไม่เกิน 15 ปี สำหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย กองทุน 10,000 ล้านบาท สนับสนุนการลงทุน การวิจัยและพัฒนา การส่งเสริมนวัตกรรม หรือการพัฒนาบุคลากรเฉพาะด้าน BOI BOI + BOI ++ พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุน พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุนฉบับแก้ไข พ.ร.บ.เพิ่มขีดความสามารถฯ 5

6 นโยบายส่งเสริมการลงทุนในปี 2560
Sector-based “อุตสาหกรรมเป้าหมาย” Technology-based “เทคโนโลยีเป้าหมาย” Bio Industries Creative & Digital Industries High Value Businesses & Services Advanced Manufacturing Basic & Supporting Industries Biotechnology Nanotechnology Advanced Materials Technology Digital Technology Area-based “พื้นที่เป้าหมาย” Merit-based “กิจกรรมเป้าหมาย” R&D สนับสนุนสถาบันการศึกษา/วิจัย หรือกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีและบุคลากร IP licensing fee ฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูง พัฒนา Local supplier ออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ EEC (3 จังหวัด) SEZ (10 จังหวัด) ชายแดนใต้ (4 จังหวัด 4 อำเภอ) 20 จังหวัดรายได้ต่ำ นิคม/เขตอุตสาหกรรม เขตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น Science Park, Food Innopolis, SKP มาตรการเฉพาะ มาตรการ SMEs เพิ่มสิทธิประโยชน์และผ่อนปรน เงื่อนไขสำหรับกิจการที่ SMEs ไทยมีศักยภาพ มาตรการสร้างความเข้มแข็งภายในประเทศ เกษตร (ต้นน้ำ/แปรรูป Food & Non-food) ท่องเที่ยวชุมชน (โครงสร้างพื้นฐานด้านการ ท่องเที่ยว, แหล่งท่องเที่ยว) มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อประหยัดพลังงาน ใช้พลังงาน ทดแทน ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ เช่น Automation ลงทุน R&D/ออกแบบทางวิศวกรรม เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ 6

7 1 ประเภทกิจการที่ให้การส่งเสริม
Sector-based “อุตสาหกรรมเป้าหมาย” (BOI) หมวด 1 เกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร (สบท. 1) หมวด 2 เหมืองแร่ เซรามิกส์ และโลหะขั้นมูลฐาน (สบท. 2) Bio Industries Creative & Digital Industries High Value Businesses & Services Advanced Manufacturing Basic & Supporting Industries หมวด 3 อุตสาหกรรมเบา (สบท. 1) หมวด 4 ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ขนส่ง (สบท.2) หมวด 5 อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า (สบท. 3) หมวด 6 เคมีภัณฑ์ กระดาษ และพลาสติก (สบท.4) หมวด 7 กิจการบริการ และสาธารณูปโภค (สบท.4) Note : ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากประกาศที่ ป.2/2557 7

8 สิทธิประโยชน์ตามประเภทกิจการ (Sector-based)
A1: อุตสาหกรรมฐานความรู้ เน้นการออกแบบ ทำ R&D เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ (ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี ไม่จำกัดวงเงิน ยกเว้นอากรเครื่องจักร วัตถุดิบ Non-tax) A2: กิจการโครงสร้างพื้นฐานเพื่อพัฒนาประเทศ กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม แต่มีการลงทุนใน ประเทศน้อยหรือยังไม่มีการลงทุน (ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี ยกเว้นอากรเครื่องจักร วัตถุดิบ Non-tax) A3: กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงซึ่งมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศโดย มีฐานการผลิตอยู่บ้างเล็กน้อย (ยกเว้นภาษีเงินได้ 5 ปี ยกเว้นอากรเครื่องจักร วัตถุดิบ Non-tax) B1/B2: อุตสาหกรรมสนับสนุนที่ใช้เทคโนโลยีไม่สูง แต่ยังสำคัญต่อ Value chain (กลุ่ม B1 ได้รับยกเว้นอากรเครื่องจักร วัตถุดิบ Non-tax กลุ่ม B2 ได้รับยกเว้นอากรวัตถุดิบ Non-tax) A4: กิจการที่มีระดับเทคโนโลยี ไม่เท่ากลุ่ม A1-A3 แต่ช่วย สร้างมูลค่าเพิ่มแก่วัตถุดิบ ในประเทศ และเสริม Supply Chain (ยกเว้นภาษีเงินได้ 3 ปี ยกเว้นอากรเครื่องจักร วัตถุดิบ Non-tax)

9 มาตรการพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี (Technology-based Incentive)
ปรับสิทธิประโยชน์ตามคุณค่าของโครงการ (Merit-based Incentive) ให้จูงใจมากขึ้น ให้สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมตามสัดส่วนเงินลงทุน/ค่าใช้จ่ายดังนี้ ประเภทเงินลงทุน / ค่าใช้จ่าย Cap เพิ่มเติม (% ของเงินลงทุน/ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น) เดิม ใหม่ 1. R&D ทั้งทำเอง ว่าจ้างผู้อื่นในประเทศ หรือร่วมวิจัยกับองค์กรในต่างประเทศ 200% 300% 2. การสนับสนุนกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีและบุคลากร สถาบันการศึกษา ศูนย์ฝึกอบรม เฉพาะทาง สถาบันวิจัย หน่วยงานรัฐ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 100% 3. ค่าธรรมเนียมการใช้สิทธิเทคโนโลยีที่พัฒนาจากแหล่งในประเทศ 4. การฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูง 5. การพัฒนา Local Supplier ที่มีหุ้นไทยไม่น้อยกว่า 51% ในการฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูง และการให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค 6. การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ทั้งทำเอง หรือว่าจ้างผู้อื่นในประเทศ เงินลงทุน/ค่าใช้จ่าย ต่อยอดขายรวม ใน 3 ปีแรก ยกเว้น CIT เพิ่มเติม โดยให้มี Cap เพิ่มขึ้น ตามที่กำหนด 1% หรือ > 200 ลบ. 1 ปี 2% หรือ > 400 ลบ. 2 ปี 3% หรือ > 600 ลบ. 3 ปี

10 Advanced Materials Technology
Targeted Core Technologies 2 Biotechnology Cell Culture / Tissue Engineering Technology Gene and Molecular Technology Genetic Engineering Technology Omics Technology Biodegradable Materials Technology Bioinformatics Advanced Bioprocessing Technology Bio-Analytical Technology Biomaterial Production Technology Nanotechnology Drug Delivery System Nano-encapsulation Nanofiber Technology Nanomaterials Syntheses Membrane Technology Adsorption Technology Nano-characterization and Testing Nanostructure Fabrication Surface Coating/Engineering Technology Advanced Materials Technology Advanced Catalyst Technology Composite Materials Technology Functional Materials Technology Photonics & Optical Technology Printed Electronics and Organic Electronics Advanced Materials Forming Process Materials Characterization Technology Energy Storage Digital Technology Big Data Analytics Technology Decentralized Sequential Transaction Database Human Computer Interaction Technology / Brain Computer Interface Internet of Things Technology Natural Language Processing Technology Virtual & Augmented Reality Technology Digital Engineering and Manufacturing Technology Software Testing Technology Embedded Technology Smart Grid Wearable Technology Artificial Intelligence Technology Sensor Technology Automation Technology Robotics Technology 10

11 ยกเว้น CIT 10 ปี + Merit (1-3 ปี) = สูงสุด 13 ปี
มาตรการพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี (Technology-based Incentive) ให้สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมกับการลงทุนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเป้าหมาย (Core Technologies) ที่ไทยมีศักยภาพ ซึ่งจะช่วยยกระดับขีดความสามารถของประเทศและอุตสาหกรรมโดยรวม โดยมีเงื่อนไขการถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยร่วมมือกับสถาบันการศึกษา/วิจัย ตามรูปแบบที่คณะกรรมการกำหนด เช่น Technology Research Consortium เป็นต้น ยกเว้น CIT 10 ปี + Merit (1-3 ปี) = สูงสุด 13 ปี Targeted Core Technologies Enabling Services การวิจัยและพัฒนา สถานฝึกฝนวิชาชีพ (เฉพาะด้าน S&T) การออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ บริการออกแบบทางวิศวกรรม บริการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ บริการสอบเทียบมาตรฐาน * ข้อ 2-6 เฉพาะโครงการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ Biotechnology Nanotechnology Advanced Materials Technology Digital Technology “กิจการพัฒนาเทคโนโลยี”

12 มาตรการพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี (Technology-based Incentive)
ให้สิทธิประโยชน์ “ยกเว้นอากรของที่นำเข้ามาเพื่อใช้ในการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งการ ทดสอบที่เกี่ยวข้อง” สำหรับกิจการวิจัยและพัฒนา กิจการเทคโนโลยีชีวภาพ และการทดสอบ ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและพัฒนา โดยมีแนวทางดังนี้ ของสำหรับใช้ทำ R&D หรือการทดสอบที่เกี่ยวข้อง เช่น วัสดุต้นแบบ สารเคมี พืชหรือสัตว์ เป็นต้น กำหนดให้ยกเว้นอากรคราวละ 1 ปี และให้ขยายเวลาได้อีกครั้งละ 1 ปี

13 มาตรการเฉพาะ 1 2 3 มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต มาตรการ SMEs
ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อประหยัดพลังงาน ใช้พลังงาน ทดแทน ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ เช่น Automation ลงทุน R&D/ออกแบบทางวิศวกรรม เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ มาตรการ SMEs เพิ่มสิทธิประโยชน์และผ่อน ปรนเงื่อนไขสำหรับกิจการที่ SMEs ไทยมีศักยภาพ ลงทุน R&D/ออกแบบทางวิศวกรรม เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ เช่น Automation ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อประหยัดพลังงาน ใช้พลังงานทดแทน ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1 2 3 มาตรการสร้างความเข้มแข็งภายในประเทศ เกษตร (ต้นน้ำ/แปรรูป Food & Non-food) ท่องเที่ยวชุมชน (โครงสร้างพื้นฐานด้านการ ท่องเที่ยว, แหล่งท่องเที่ยว) ** ต้องยื่นคำขอรับการส่งเสริม ภายในปี 2560 **

14 มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต
เงื่อนไข ใช้สำหรับโครงการที่หมดสิทธิด้านภาษีเงินได้แล้ว หรือโครงการที่ไม่เคยได้รับการส่งเสริมการลงทุน ต้องเป็นกิจการที่อยู่ในข่ายให้การส่งเสริมในปัจจุบัน ต้องลงทุนไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ยกเว้น SMEs ต้องลงทุนไม่น้อย กว่า 5 แสนบาท ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับจากวันที่ออกบัตรส่งเสริม สิทธิประโยชน์ ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี แต่ไม่เกิน 50% ของวงเงินลงทุนในการปรับปรุง (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) ระยะเวลายกเว้นภาษีเงินได้ ให้นับจากวันที่มีรายได้ภายหลังได้รับบัตรส่งเสริม

15 มาตรการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1

16 การปรับเปลี่ยนเครื่องจักร
มาตรการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1 มาตรการ การปรับเปลี่ยนเครื่องจักร ด้านการประหยัดพลังงาน ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรไปสู่เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อให้เกิดการใช้พลังงานลดลงตามสัดส่วนที่กำหนด ด้านการนำพลังงานทดแทนมาใช้ในกิจการ นำพลังงานทดแทนมาใช้ในกิจการในสัดส่วนตามที่กำหนด กำหนดชนิดของพลังงานทดแทนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ำ ได้แก่ พลังงานหมุนเวียน เป็นการใช้พลังงานทดแทนทดแทนการใช้พลังงานฟอสซิล (ฟอสซิล ได้แก่ น้ำมัน ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ) ด้านลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อลดปริมาณการระบายสารมลพิษ ปริมาณการระบายน้ำทิ้ง หรือ มลพิษทางอากาศ กำหนดหน่วยปริมาณเป็นอัตราการระบายมลพิษทางน้ำหรืออากาศ

17 แผนและวิธีการตรวจวัดผลการประหยัดพลังงาน หรือการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การขอรับการส่งเสริมตามมาตรการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1 ยื่นคำขอรับการส่งเสริม พร้อมแบบประกอบคำขอรับการส่งเสริมตามมาตรการส่งเสริมการ ลงทุนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต(F PA PP 28) โครงการที่ลงทุนมากกว่า 200 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) จะต้องจัดทำข้อมูล เพิ่มเติม ดังนี้ ผลการทดสอบและรับรองเครื่องจักรและอุปกรณ์สำหรับการประหยัดพลังงาน การใช้ พลังงานทดแทน และการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จากสถาบันหรือหน่วยงานที่เชื่อถือได้ หรือผลการทดสอบเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ได้ปฏิบัติมาแล้ว แผนและวิธีการตรวจวัดผลการประหยัดพลังงาน หรือการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จะต้องยื่นคำขอรับการส่งเสริมก่อนการดำเนินการลงทุนด้านเครื่องจักร

18 การขอรับการส่งเสริมตามมาตรการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน
และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1 เป็นโครงการที่ไม่เคยได้รับการส่งเสริมตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ เครื่องจักรที่จะนำมาปรับเปลี่ยน ต้องเป็นเครื่องจักรใหม่เท่านั้น ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรในสายการผลิตโดยตรง หรือเครื่องจักรสนับสนุน จะต้องไม่ได้รับสิทธิและประโยชน์ด้านภาษีสำหรับการดำเนินงานในลักษณะ เดียวกันจากหน่วยงานอื่น จะต้องเป็นผู้ดำเนินการถูกต้องตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการจัดการด้าน สิ่งแวดล้อมตามที่หน่วยราชการกำหนด และกฎหมายกำหนด

19 ตัวชี้วัดในการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1 มาตรการ ตัวชี้วัด ด้านการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานต้องลดลงตามที่กำหนด มูลค่าของพลังงานที่ประหยัดได้ ต้องไม่น้อยกว่ามูลค่าภาษีที่ได้รับการยกเว้น คำนวณมูลค่าพลังงานที่ประหยัดได้เป็นเวลา 5 ปี ด้านการนำพลังงานทดแทนมาใช้ในกิจการ มีการเปลี่ยนมาใช้พลังงานทดแทนตามชนิดที่กำหนด เพื่อทดแทนการใช้พลังงานฟอสซิล ด้านลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ปริมาณการระบายสารมลพิษ หรือ ปริมาณการระบายน้ำทิ้ง หรือ ปริมาณสารมลพิษ ต้องลดลงตามความเหมาะสมในเชิงเทคโนโลยีที่ใช้ ***กำหนดให้ปีก่อนยื่นคำขอเป็นปีฐาน และคำนวณสัดส่วนเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการดำเนินการแล้ว 1 ปี และคำนวณที่ปริมาณการผลิตในปีฐาน

20 มาตรการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
2

21 จะต้องยื่นคำขอรับการส่งเสริมก่อนการลงทุนด้านเครื่องจักร
การขอรับการส่งเสริมตามมาตรการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 2 ยื่นคำขอรับการส่งเสริม พร้อมแบบประกอบคำขอรับการส่งเสริมตามมาตรการ ส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต (F PA PP 30) จะต้องยื่นคำขอรับการส่งเสริมก่อนการลงทุนด้านเครื่องจักร เป็นกิจการที่อยู่ในข่ายได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรตามเกณฑ์ที่กำหนด เช่น การนำ ระบบอัตโนมัติมาใช้ในสายการผลิตเดิม เป็นต้น

22 การปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
2 พิจารณาการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรควบคู่กับการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยี การปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ รวมถึงอุปกรณ์เสริม และสนับสนุนได้ตาม ความจำเป็นและเหมาะสม การปรับปรุงระบบการบริหารจัดการและสนับสนุนการผลิต เฉพาะในอุตสาหกรรมผลิตเท่านั้น (ไม่รวมกรณีกิจการบริการ) การปรับเปลี่ยนอุปกรณ์/อะไหล่/วัสดุสิ้นเปลืองในส่วนงบทำการ และการปรับเปลี่ยนเนื่องจาก การเสื่อมสภาพของเครื่องจักร ไม่อยู่ในข่ายขอรับการส่งเสริม มีการนำเทคโนโลยีใหม่เข้ามาใช้ในการผลิตเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ หากเป็นการใช้เครื่องรุ่นใหม่ของเทคโนโลยีการผลิตเดิม ผลการดำเนินงานต้องเป็นไปตาม ตัวชี้วัดที่กำหนด

23 มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อการวิจัยพัฒนาและออกแบบทาง วิศวกรรมเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ
3

24 เสนอแผนการลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาหรือออกแบบทางวิศวกรรมตามเกณฑ์ที่กำหนด
การขอรับการส่งเสริมตามมาตรการการวิจัยพัฒนาและออกแบบทางวิศวกรรมเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ เสนอแผนการลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาหรือออกแบบทางวิศวกรรมตามเกณฑ์ที่กำหนด จะต้องมีการลงทุนหรือมีค่าใช้จ่ายด้านวิจัยและพัฒนาหรือออกแบบทางวิศวกรรม ไม่น้อย กว่าร้อยละ 1 ของยอดขายรวมใน 3 ปีแรก นับจากวันที่ยื่นขอรับการส่งเสริม กรณีเป็นผู้ประกอบการ SMEs ต้องลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาหรือออกแบบทางวิศวกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของยอดขายรวมใน 3 ปีแรก นับจากวันที่ยื่นขอรับการส่งเสริม รายละเอียดประเภทเงินลงทุนและค่าใช้จ่ายที่นับเป็นเงินลงทุน เป็นไปตามคำชี้แจงที่ 1/2558 ลงวันที่ 28 ม.ค. 58 ข้อ 2.1 ถึง 2.5

25 ผลของมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ตั้งแต่พ.ศ. 2550-2559
จำนวนโครงการ มูลค่า (ล้านบาท) ผลการตรวจสอบ การประหยัดพลังงาน 78 15,950.0 มูลค่าประหยัดพลังงานที่ได้ 20, ล้านบาท การใช้พลังงานทดแทน 50 6,150.0 มีการใช้พลังงานทดแทนมากขึ้น ในหลากหลายรูปแบบ เช่น พลังงานไฟฟ้าจากสงอาทิตย์ พลังงานลม ชีวมวล ชีวภาพ เพื่อทดแทนพลังงานจากฟอสซิล การลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม 58 39,560.0 NOx Loading reduce 75.0 g/s SOx Loading reduce 30.4 g/s VOCs Loading reduce g/s Waste water reduce 350,750 m3 มูลค่าการลงทุนรวม 61,660

26 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
555 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ โทรสาร Website :


ดาวน์โหลด ppt New Chapter of Investment Promotion

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google