งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
ดร.ตวง อันทะไชย ประธานคณะกรรมาธิการการศึกษาและกีฬา สภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะกรรมการอิสระด้านการปฏิรูปการศึกษา

2 ตวง อันทะไชย ปริญญาตรี การศึกษาบัณฑิต,นิติศาสตร์บัณฑิต
ตวง อันทะไชย ปริญญาตรี การศึกษาบัณฑิต,นิติศาสตร์บัณฑิต ปริญญาโท การศึกษามหาบัณฑิต บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2547 ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด 2560 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (บริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2560 ประสบการณ์ทางการเมือง ดำรงตำแหน่ง สว. 2 สมัย(51และ54), สนช. 2 สมัย(49และ57) ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปัญหาการไร้สถานะในประเทศไทย ประธานคณะกรรมการโครงการเฉลิมพระเกียรติ วุฒิสภา ประธานคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพฯ วุฒิสภา ประธานคณะกรรมาธิการการศึกษาและกีฬา สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ พรป.กกต.ฉบับ พ.ศ.

3 “Education is the most powerful weapon which you can use to change the world.”
(Nelson Mandela)

4 บทเรียนการปฏิรูปการศึกษาในอาเซียน
“ปัจจัย เงื่อนไขในความสำเร็จของการปฏิรูปการศึกษาจะต้องได้รับการริเริ่ม ชูธงนำโดยผู้นำประเทศนั้น ระบบการเมืองนิ่งและมั่นคง เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย เป็นต้น” สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา(2557:111)

5 “ต้องปฏิรูปการศึกษา เพื่อส่งต่อให้คนรุ่นหลัง มาขับเคลื่อนต่อไป” (ตวง อันทะไชย:2560)

6 “การปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยไม่อาจจะพิจารณาแบบแยกส่วนได้ ต้องเข้าใจภาพรวมของระบบอย่างถ่องแท้ ต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนว่าจะทำไปเพื่ออะไรเป็นความเข้าใจร่วมของทุกภาคส่วนของการศึกษา ยกให้เป็นวาระแห่งชาติและปฏิบัติจริงได้” สภาการศึกษา, 2557:8

7 3)กระทรวงฯ/Policy/Regulator 2)กลไกจังหวัดการศึกษา
เปลี่ยนแนวคิดว่าด้วยปฏิรูปการศึกษาใหม่: จากแนวคิดทฤษฎี “ว่างเปล่า” ของ อ.มีชัย ฤชุพันธุ์ และแนวคิดของ อ.ไพฑูรย์ สินลารัตน์ “จากล่างขึ้นบน” 3)กระทรวงฯ/Policy/Regulator 2)กลไกจังหวัดการศึกษา ประชารัฐจังหวัด/AB 1)สถานศึกษา:ภารกิจ ??? Operator (ตวง อันทะไชย :2559)

8 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการปฏิรูปการศึกษาเพื่อปฏิรูปประเทศ

9 คุณภาพการศึกษาสนใจ Process > Out come
“1)ประกวด 2)ประชุม 3)ประเมิน” คุณภาพการศึกษาสนใจ Process > Out come In put ผู้เรียน Process ใช้รูปแบบใด มีเอกสารหลักฐานใดมายืนยัน Out come คนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ เชี่ยวชาญสามารถตามความถนัด รับผิดชอบ

10 สภาพปัจจุบัน:รวมศูนย์ไว้ส่วนกลาง เทอะทะ อุ้ยอ้าย ปรับตัวไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
ศธ. 4.สพฐ. ภาค จังหวัด เขต สถานศึกษา 5.อาชีวะ สถาบันฯ กศน. อำเภอ ศูนย์ เอกชน 3.สภาการศึกษา 1.สกอ. มหาวิทยาลัย 2 .สป.

11 เรือสำราญขนาดใหญ่

12 115 ปีปรัชญาการศึกษาไทย สอนเพื่อสอบ
1.สอนให้คนรักตนเอง มากกว่า ชาติ 2.แพ้คัดออกแข่งขันมากกว่าแบ่งปัน 3.เก่งกระจุก โง่กระจาย 4.รวบอำนาจเข้าสู่ส่วนกลาง 5.สอนให้ไม่รู้จักตนเอง ขาดความเชื่อมั่น 6.คุณภาพการศึกษาเพียงมิติเดียว

13 ระบบการศึกษาไทย(115 ปี) 1.รัฐเป็นผู้ให้ ประชาชนเป็นผู้รับ รัฐผู้รู้ ประชาชนต้องการความรู้ 2.เน้นความรู้สำเร็จรูปมากกว่ากระบวนคิดวิเคราะห์วิเคราะห์ 3.ผูกกับปริญญามากกว่าการเรียนรู้ตลอดชีวิตและใช้งานได้จริง 4.ผูกอยู่กับระบบโรงเรียนอย่างเดียว:ลืมการศึกษาทางเลือก 5.เรียนเพื่อสอบให้ผ่านมากกว่า เรียนเพื่อรู้และใช้ได้จริง 6.ระบบการศึกษาทำให้เด็กไทย ขาดโอกาสพัฒนา เพราะต้องเรียนเหมือนกัน 7.หลักสูตรและวัดผลประเมินผลตอบโจทย์ผู้สอบ มากกว่าตอบโจทย์ชีวิตจริงและท้องถิ่นของผู้เรียน 8.ใช้สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการบันเทิง การสื่อสารมากกว่าเรียนรู้

14

15 สภาพปัญหาโครงสร้าง การบริหารจัดการศึกษาที่เผชิญอยู่
ใหญ่เกินไป เทอะทะ อุ้มคร่อม สายบังคับบัญชาซับซ้อนหลายชั้นเกินไปหรือไม่ ฝ่ายการเมืองล้วงลูกไปถึงสถานศึกษาได้(ชอบมาก) ห้องเรียนฐานปฏิบัติการไม่อิสระในวิชาการ บริหารจัดการ โครงสร้างไม่ตอบโจทก์ทิศทางการศึกษาของโลก รวบอำนาจเข้าสู่ส่วนกลาง มีโอกาส Corruption มากขาดการตรวจสอบ

16 สปีดโบ๊ท

17 มองไปข้างหน้า ทิศทางการปฏิรูปการศึกษาไทย ?

18 ถ้าประตูแห่งการปฏิรูปเปิด:ความสำเร็จก็ตามมา
“การบ่มเพาะความไว้เนื้อเชื่อใจกันระหว่าง ผู้มีอำนาจด้านนโยบายการศึกษากับโรงเรียน จะทำให้เกิดการปฏิรูปที่ยั่งยืนและประสบความสำเร็จ ซึ่งเป็นทั้งของรัฐบาล และของครูซึ่งเป็นฝ่ายปฏิบัติด้วย” (ปาสิ ซอห์ลเบิร์ก.2559:50)

19 กระบวนการรับฟังความคิดเห็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ไทยแลนด์ 4.0 แผ่นดินแห่งความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ปฏิรูปการศึกษาเพื่อปฏิรูปประเทศ ปรัชญา/ทิศทาง กฎหมายแม่บท/พรบ.กศ.42 กฎกระทรวงฯ ธรรมนูญการศึกษา เด็กเล็ก,อาชีวะ,มหาวิทยาลัย โครงสร้าง สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ การเรียนรู้ กองทุน อื่น ๆ สาระสำคัญ ครม./สนช. กระบวนการรับฟังความคิดเห็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (ตวง อันทะไชย :2559)

20 แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา ตามมาตรา 54 ประกอบมาตรา 258 จ

21 Timeline การดำเนินการปฏิรูปฯ (นับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญ)
ครม.แต่งตั้งคณะกรรมการที่มีความเป็นอิสระ(ด้านการศึกษา) ภายใน 60 วัน เริ่มดําเนินการปฏิรูปในแต่ละด้าน ภายใน 1 ปี เด็กเล็ก กองทุน ครูและอาจารย์ การเรียนการสอน (คณะกรรมการที่มีความเป็นอิสระ) จัดทําข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายเสนอต่อ ครม.ภายใน 2 ปีนับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ปีที่ 2 ปีที่ 3-4 ปีที่ 5 ประกาศใช้กฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดําเนินการปฏิรูปฯ ใน 120 วัน ตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนฯ ภายใน 1 ปี พ.ร.บ.กองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนฯ พ.ร.บ.กองทุนเสริมสร้างคุณภาพครูฯ ผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวังว่าจะบรรลุในระยะเวลา 5 ปี เด็กเล็ก กองทุน ครูและอาจารย์ การเรียนรู้(หลักสูตร, โครงสร้าง) แหล่งเรียนรู้ อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา (คณะกรรมาธิการการศึกษาและกีฬา:2559)

22 ที่มาและขอบข่ายข้อเสนอแนะและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
คสช. ครม. นายกรัฐมนตรี Thailand 4.0 นโยบายและแนวทาง ม.54 การจัดการศึกษา ม.258 จ. การปฏิรูปประเทศฯ ม.259 กฎหมายว่าด้วยการแผนฯ ม.261 การจัดทำข้อเสนอแนะฯ ร่างรัฐธรรมนูญ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษา การปฏิรูปฯ สู่ Thailand 4.0 การรับฟังความคิดเห็น ยุทธศาสตร์ จุดมุ่งหมายของการศึกษาและเป้าหมายการปฏิรูปประเทศ วิสัยทัศน์ประเทศไทย นโยบายและยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษา วิธีการและกระบวนการจัดทําแผน การมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนในการดําเนินการปฏิรูปประเทศ การวัดผลการดําเนินการ ระยะเวลาดําเนินการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวัง กลไกในการขับเคลื่อนและนำแผนไปสู่การปฏิบัติ แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

23 ความสัมพันธ์ของหลักการและขอบข่ายเนื้อหาของการยกร่างข้อเสนอและร่างกฎหมายเกี่ยวกับแผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา หลักวิชาการเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ และการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ ทุกกลุ่ม ประเทศไทย 4.0, ยุทธศาสตร์ 20 ปี จุดมุ่งหมายของการศึกษาตามร่างรัฐธรรมนูญ ม.54 การจัดการศึกษาตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์/แผนการศึกษาแห่งชาติ การปฏิรูปการศึกษาตามร่างรัฐธรรมนูญ ม.258 จ. หลักวิชาการเกี่ยวกับกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม หลักวิชาการเกี่ยวกับประเด็นการปฏิรูปการศึกษาแต่ละด้าน

24 มั่งคั่ง มั่นคง ยั่งยืน
วิเคราะห์ปัจจัยทางยุทธศาสตร์ และภาพอนาคต สภาวะการศึกษา การกําหนดทิศทางการศึกษา การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ การกําหนดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ การกําหนดยุทธวิธีหรือวิธีการที่จะดำเนินการ ระยะ เวลา ค่านิยม สั้น กลาง ยาว มั่งคั่ง ปรับปรุงกฎหมายและโครงสร้างการบริหาร ให้สอดคล้องกับการแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพ 1 5 10 มั่นคง ยั่งยืน กฎหมายและโครงสร้างการปฏิรูปการศึกษา วิจัยและพัฒนาระบบหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับความต้องการ การเมือง: -ไม่มั่นคง -คอรัปชั่น ฯลฯ ปรับปรุงกฎหมายและโครงสร้าง หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้มีคุณภาพ คนไทย คนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตนเอง มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ ขยายการจัดอาชีวศึกษาเพื่ออาชีพชั้นสูงและพัฒนาอุดมศึกษาที่มีคุณภาพเพื่อพัฒนาประเทศ โครงสร้าง: -ซับซ้อน –ใหญ่อิสระไม่เป็นเอกภาพ ฯลฯ ปรับหลักสูตรและการเรียนรู้ อาชีวศึกษาและอุดมศึกษาพัฒนาชาติ พัฒนาอาชีวะและอุดมศึกษาฯ กระจายอำนาจและส่งเสริมโรงเรียนนิติบุคคล รูปแบบใหม่ให้สมบูรณ์ เศรษฐกิจ: -ผันผวน ชะลอตัว -การแข่งขันสูง ฯลฯ ยุทธศาสตร์: - ไม่ชัดเจนไม่ต่อเนื่อง ฯลฯ เร่ง โรงเรียนนิติบุคคลรูปแบบใหม่ ส่งเสริมโรงเรียนนิติบุคคล จุดแข็ง-โอกาส: นโยบายฯ -ยุทธศาสตร์ชาติ สร้างและส่งเสริมสนับสนุนชุมชนการเรียนรู้ ตลอดชีวิตให้กว้างขวางทุกระดับทุกพื้นที่ ชุมชนการเรียนรู้และการศึกษาตลอดชีวิต สร้างชุมชนการเรียนรู้ ระบบ: -ไม่มีประสิทธิภาพ ฯลฯ ร่วม ขยายความร่วมมือในพัฒนาคุณภาพการศึกษา สู่ประชาคมอาเซียนและสังคมโลก สังคม: -ความขัดแย้ง -สูงอายุ -ยาเสพติด ฯลฯ วิสัยทัศน์: คนไทยเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน การศึกษาพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน จุดแข็ง-อุปสรรค:นโยบายฯ -การเมือง ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ กระบวนทัศน์ความพอเพียงและยั่งยืน สร้างเสริมกระบวนทัศน์การศึกษาและการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรฐกิจพอเพียง แบบแผน: -ไม่ชัดเจน ไม่มั่นคงฯลฯ จุดหมาย: การศึกษาเพื่อความสุขและสันติภาพ เริ่ม จุดอ่อน-โอกาส: โครงสร้าง ระบบบริหาร -ยุทธศาสตร์ชาติ จัดระบบการคลังการศึกษา ระบบการคลังทางการศึกษามีประสิทธิภาพ จัดระบบการคลังเพื่อการศึกษาที่ชัดเจนเพื่อประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา เทคโนโลยี: -ก้าวหน้ามากขึ้น -เปลี่ยนแปลงเร็ว ฯลฯ บุคลากร: -ภาครัฐขาดประสิทธิภาพ ฯลฯ พันธกิจ: การศึกษาพัฒนาคน และพัฒนาชาติ เพิ่ม ระบบเทคโนโลยีเครือข่าย เทคโนโลยีเครือข่ายทั่วถึงและเท่าเทียม พัฒนาระบบเทคโนโลยีและเครือข่ายการเรียนรู้ ที่มีโครงสร้างพื้นฐานทั่วถึงและเหมาะสมกับพื้นที่ จุดอ่อน-อุปสรรค: โครงสร้าง ระบบบริหาร – การเมือง โอกาสและการมีส่วนร่วม โอกาสและการมีส่วนร่วมกว้างขวาง ทักษะ: -ไม่เหมาะสมตามความต้องการ ฯลฯ พัฒนา เสริมสร้างโอกาสและการมีส่วนร่วมทางการศึกษาทุกรูปแบบอย่างทั่วถึงทุกระดับ กฎหมาย: -ไม่ทันสมัย -ไม่ครอบคลุม ฯลฯ คุณภาพครูและบุคลากร ครู ผู้บริหารและบุคลากรมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ชาติ : กรอบการพัฒนาระยะยาว “ยั่งยืน” “มั่นคง” ความมั่นคง การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ “มั่งคั่ง” ประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดเล็ก พัฒนาระบบการผลิต สรรหา ใช้และพัฒนาครู ผู้บริหารและบุคลากรที่มีคุณภาพ ค่านิยม: -ไม่สอดคล้องกับสภาพวิถีชีวิต ฯลฯ คุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก ระบบประเมินคุณภาพ ปรับปรุงรูปแบบการศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็กให้สอดคล้องกับสภาพและมีประสิทธิภาพ สิ่งแวดล้อม: -เสื่อมโทรม -มลพิษ ฯลฯ การประเมินคุณภาพเพื่อการพัฒนา ระบบการศึกษาตลอดช่วงชีวิต ปรับปรุงระบบการประเมินคุณภาพที่เหมาะสมเพื่อการพัฒนาคุณภาพอย่างแท้จริง ระบบการศึกษาตลอดช่วงชีวิตที่เหมาะสม พัฒนาระบบการศึกษาทุกช่วงวัยอย่างต่อเนื่อง ทุกระดับเพื่อการพัฒนาประเทศที่มั่นคงยั่งยืน แผนผังสรุปขั้นตอนและสาระสำคัญของการจัดทำยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษาฯ ที่เชื่อมโยงกับร่างยุทธศาสตร์ชาติ และร่างรัฐธรรมนูญฯ : นำเสนอคณะกรรมาธิการการศึกษาและการกีฬา 24 มีนาคม 2559

25 ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว ภายใน 5 ปี(พ.ศ.2564) ภายใน 15 ปี(พ.ศ.2574) + พัฒนาผู้เรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก + ปรับกระบวนทัศน์คนไทยให้พอเพียง + พัฒนาการศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน + พัฒนาเทคโนโลยีและเครือข่ายการเรียนรู้ + ขยายโอกาสและการมีส่วนร่วมทางการศึกษา + พัฒนาชุมชนการเรียนรู้เพื่อความสุขอย่างพอเพียง + ปรับปรุงกฎหมายปฏิรูปการศึกษา + ปรับปรุงระบบหลักสูตรและการเรียนรู้ + พัฒนาอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาฯ + ปรับปรุงพัฒนางานบริหารบุคคลทั้งระบบ + พัฒนาระบบการศึกษาตลอดช่วงชีวิต ร่างยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทย EDUCATION FOR HAPPINESS AND PEACE ภายใน 1 ปี (พ.ศ. 2560) + ส่งเสริมโรงเรียนนิติบุคคลรูปแบบใหม่ + พัฒนาระบบประเมินคุณภาพการศึกษา + พัฒนาระบบคลังเพื่อการศึกษา คนไทย คนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตนเอง มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ชาติ : กรอบการพัฒนาระยะยาว การปฏิรูปโครงสร้างและระบบบริหาร ปฏิรูประบบ การคลัง ด้านการศึกษา ปรับระบบ การผลิตและพัฒนาครูผู้สอน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากภาคเอกชน พัฒนาระบบการประเมินและการรับรองคุณภาพ การวิจัยและ การใช้เทคโนโลยีและสื่อ เพื่อการเรียนรู้ การปฏิรูประบบ การเรียนรู้ “ยั่งยืน” “มั่นคง” ความมั่นคง การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ “มั่งคั่ง” นโยบายด้านการศึกษาของนายกรัฐมนตรี การศึกษา เสริมสร้าง ศักยภาพคน คนพัฒนาชาติ คนไทย เรียนรู้ ตลอดชีวิต การศึกษา เพื่อความสุข และสันติภาพ กรอบแนวทางของยุทธศาสตร์ การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน (๑) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ (๒) การยกระดับคุณภาพการศึกษาและ การเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และทั่วถึง (๓) การปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ (๔) การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี (๕) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย เสริมสร้างบทบาท ของสถาบันครอบครัวในการบ่มเพาะจิตใจให้เข้มแข็ง แผนภาพการเชื่อมโยง สาระสำคัญด้านการศึกษา ในรัฐธรรมนูญฯ 2560 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นโยบายของนายกรัฐมนตรี และ ยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษาฯ 24 มีนาคม 2559

26 รัฐธรรมนูญฯ ที่เกี่ยวกับการศึกษา
หมวด 14 การปกครอง ส่วนท้องถิ่น หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ ม.54 การจัดการศึกษา ม.250 หน้าที่และอำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: ส่งเสริมสนับสนุน ม.258 จ. การปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาฯ ม.259 กฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนฯ ม.261 การจัดทำข้อเสนอแนะและกฎหมายฯ 54 250 258 259 261

27 หมวด 5 มาตรา 54 การจัดการศึกษา
เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนา ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการ การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ เชี่ยวชาญสามารถฯ ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษาตามความถนัด จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๔ รัฐต้องดําเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้องดําเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา ตามวรรคหนึ่ง เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริม และสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการดําเนินการด้วย รัฐต้องดําเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดําเนินการ กํากับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติซึ่งอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดทําแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดําเนินการและตรวจสอบการดําเนินการให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วย การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในการดําเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามวรรคสาม รัฐต้องดําเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับ การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษาตามความถนัดของตน ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษาและเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณ ให้แก่กองทุนหรือใช้มาตรการหรือกลไกทางภาษีรวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุน ได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีด้วย ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกําหนดให้การบริหารจัดการกองทุนเป็นอิสระและกําหนดให้มีการใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว

28 หมวด16 มาตรา 258 จ. ให้ดําเนินการปฏิรูปประเทศให้เกิดผลด้านการศึกษา
หมวด16 มาตรา 258 จ. ให้ดําเนินการปฏิรูปประเทศให้เกิดผลด้านการศึกษา มาตรา 258 ให้ดําเนินการปฏิรูปประเทศอย่างน้อยในด้านต่าง ๆ ให้เกิดผล ดังต่อไปนี้ จ. ด้านการศึกษา (1) ให้สามารถเริ่มดําเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามมาตรา 54 วรรคสอง เพื่อให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัยโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย (2) ให้ดําเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนตามมาตรา 54 วรรคหก ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ (3) ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครู และอาจารย์ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครูมีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมทั้งมีกลไกสร้าง ระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพครู (4) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ ตามความถนัด และปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยสอดคล้องกันทั้งในระดับชาติและระดับพื้นที่

29 หมวด 16 มาตรา 261 การปฏิรูป : ด้านการศึกษา
มีคณะกรรมการที่มีความเป็นอิสระ คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งภายใน 60วัน ดําเนินการศึกษาและจัดทําข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องภายใน 2 ปี

30 เด็กเล็ก การดูแลและพัฒนา ไม่เก็บค่าใช้จ่าย
หมวด16 มาตรา 258 จ. ให้ดําเนินการปฏิรูปประเทศให้เกิดผลด้านการศึกษา (1) เด็กเล็ก เด็กเล็ก เริ่มดําเนินการใน 1 ปี การดูแลและพัฒนา การพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย ไม่เก็บค่าใช้จ่าย ส่งเสริม และสนับสนุน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วม

31 ปัญหาการศึกษาปฐมวัยของประเทศไทยที่ผ่านมา
ไม่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญว่ารัฐจะจัดอย่างไร ไม่เขียนไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ จัดการศึกษาตามสภาพและความต้องการ ศักยภาพของแต่ละชุมชน จัดตามปฏิญญาเด็กและสิทธิมนุษยชน หากเริ่มต้นไม่ดี-ตอนท้ายย่อมไม่ดีแน่นอน กลัดกระดุมเม็ดแรกผิด เม็ดสุดท้ายจะถูกอย่างไร ? ฐานที่ไม่แน่น มั่นคง อาคารจะมั่นคง แข็งแกร่ง ไปสู่ มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนได้อย่างไร ? (คณะกรรมาธิการการศึกษาและกีฬา :2559)

32 ความหมายของการจัดการศึกษา
1.เด็กเล็ก-การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษา เรียน 1-2 ปี 2.อนุบาล-การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษาเรียน 2 หลักสูตรคืออนุบาล 2ปีกับอนุบาล 3 ปี 3.การศึกษาภาคบังคับ-ตามมาตรา 17 พรบ.กศ.42 คือการศึกษาจำนวนเก้าปีให้เด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่ 7เข้าเรียนในสถานศึกษาและจนย่างเข้าปีที่ ( ป.1- ม.ต้น) 4.การศึกษาขั้นพื้นฐาน-การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา (ประถม-ม.ต้น-ม.ปลาย-ปวช./ปวส./นาฏศิลป์) ความต่างของการศึกษาภาคบังคับกับการศึกษาขั้นพื้นฐานก็คือ ขั้นพื้นฐานไม่บังคับแต่เป็นสิทธิ ส่วนภาคบังคับต้องเข้าเรียนตามรัฐธรรมนูญถือเป็นหน้าที่ ฟรีประถม,มัธยมไม่เหมือนกัน (ตวง อันทะไชย :2559)

33 ระบบการศึกษาไทยตามรัฐธรรมนูญ40-50-59 (สีเขียว=40 สีเหลือง=50 สีฟ้า=59)
เด็กเล็ก อนุบาล ประถม ม.ต้น ม.ปลาย 3 ปี 3 ปี 6 ปี 1-3 ปี 1-2 ปี 12 ปี 12 ปี 14 ปี (ตวง อันทะไชย :2559)

34 ส่งเสริมประสิทธิภาพครู
หมวด16 มาตรา 258 จ. ให้ดําเนินการปฏิรูปประเทศให้เกิดผลด้านการศึกษา (2) กองทุน กองทุน ตรากฎหมาย ช่วยเหลือผู้ขาดแคลน ส่งเสริมประสิทธิภาพครู จัดตั้งกองทุน ภายใน 1 ปี

35 ตอบโจทก์ประเทศ 1)ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา 2)ความเหลื่อมล้ำทางสังคม 3)ลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ

36 กลไกและระบบ พัฒนา ค่าตอบแทน
หมวด 16 มาตรา 258 จ. ให้ดําเนินการปฏิรูปประเทศให้เกิดผลด้านการศึกษา (3) ครูและอาจารย์ ผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ กลไกและระบบ การผลิต คัดกรอง พัฒนา ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครูมีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู ความรู้ความสามารถที่แท้จริง ค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน ค่าตอบแทน ความสามารถและประสิทธิภาพ ในการสอน กลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพครู ระบบคุณธรรม การบริหารงานบุคคล

37 ผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์
หมวด 16 มาตรา 258 จ. ให้ดําเนินการปฏิรูปประเทศให้เกิดผลด้านการศึกษา (3) ครูและอาจารย์ ผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ กลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนา ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครูมีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน กลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพครู

38 ครู:ผลิต-ใช้-พัฒนา-สวัสดิการ-สวัสดิภาพ
กระบวนการผลิต ? ให้ได้ครู “ที่มีจิตวิญญาณของความเป็นครู” ครูที่มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง(บริหาร,ผู้สอน,นิเทศ) ค่าตอบแทนที่เหมาะสม สวัสดิการและสวัสดิภาพที่พิเศษสมกับวิชาชีพชั้นสูง มีระบบคุณธรรมและธรรมาภิบาลในการบริหารงานบุคคล

39 ครูไทยในอนาคต ? “ครู :ผู้จุดไฟการเรียนรู้” C-Teacher
1. Content ครูต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องที่สอนเป็นอย่างดี 2. Computer (ICT) Integration ครูต้องมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี 3. Constructionist ครูผู้สอนต้องเข้าใจแนวคิดที่ว่า ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเอง 4. Connectivity ครูต้องสามารถจัดกิจกรรมให้เชื่อมโยงระหว่างผู้เรียน- ผู้เรียน-ครู- ชุมชน 5. Collaboration ครูมีบทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะการเรียนรู้ แบบร่วมมือระหว่างนักเรียนกับครู และนักเรียนกับนักเรียนด้วยกัน 6. Communication ครูต้องมีทักษะการสื่อสาร ทั้งการบรรยาย การยกตัวอย่าง การเลือกใช้สื่อ และการนำเสนอ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ 7. Creativity ครูต้องออกแบบ สร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนรู้ 8. Caring ครูต้องมีมุทิตาจิตต่อนักเรียน หรือจิตวิญญาณของความเป็นครู (ถนอมพร  เลาหจรัสแสง:2558)

40 ระดับชาติ ระดับพื้นที่
หมวด 16 มาตรา 258 จ. ให้ดําเนินการปฏิรูปประเทศให้เกิดผลด้านการศึกษา (4) การเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอน (การจัดการเรียนรู้) 1)ปรับปรุงการเรียน การสอน ผู้เรียนเรียนได้ตามความถนัด 2)ปรับปรุงโครงสร้าง บรรลุเป้าหมาย(ผู้เรียนเรียนได้ตามความถนัด) สอดคล้องกัน ระดับชาติ ระดับพื้นที่

41 หลักสูตร แกน เฉพาะ ภูมิสังคม

42 “การศึกษาเพื่อค้นหาพรสวรรค์ หรือธาตุที่อยู่ในตัวผู้เรียน”
“ธาตุคือคุณถนัดและสนใจอะไร เพียงแค่รู้ว่าเก่งไม่พอ แต่จะต้องรักในสิ่งนั้นด้วยและหากคุณได้ทำคุณจะไม่มีความรู้สึกว่านั่นคืองาน คุณจะได้รับพลังงานจากการทำสิ่งนั้นหรือแม้กระทั่งได้พบจุดมุ่งหมายใหม่ในชีวิต” (Robinson,2009)

43 “ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการศึกษา ให้กระทรวงศึกษาธิการ จากผู้กำกับนโยบาย มาเป็นผู้ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาและพัฒนารูปแบบการกระจายอำนาจสู่พื้นที่และสถานศึกษา โดยคำนึงถึงความพร้อมและเงื่อนไข ที่เหมาะสม ส่งเสริมให้สถานศึกษามีความเข้มแข็ง บริหารจัดการศึกษาได้ด้วยตนเองในรูปแบบ นิติบุคคลหรือในกำกับรัฐ” (แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ :135)

44 1.สกอ. 4.สพฐ. ศธ. มหาวิทยาลัย 2.สป. ภาค จังหวัด เขต สถานศึกษา 5.อาชีวะ
สถาบันฯ กศน. อำเภอ ศูนย์ เอกชน 3.สภาการศึกษา

45 แผนปฏิรูปด้านการศึกษา และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
เด็กเล็ก: การดูแลและพัฒนาเด็กเล็ก กองทุน: การตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนและกองทุนเสริมสร้างคุณภาพครู ครูและอาจารย์: การพัฒนากลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ รวมทั้งค่าตอบแทนที่เหมาะสมและกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพครู การจัดการเรียนรู้: การปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน (รวมทั้งการปรับปรุงหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล(การเทียบโอน) และการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระบบทุกระดับ) โครงสร้าง การปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนทั้งในระดับชาติและระดับพื้นที่ แหล่งเรียนรู้: การปรับปรุงระบบการวิจัย นิเทศ ติดตาม สิ่งอำนวยความสะดวก เทคโนโลยี สื่อและแหล่งเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา การจัดอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนและรองรับการพัฒนาประเทศ ร่าง พ.ร.บ.แผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปฯ ร่าง พ.ร.บ.กองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนฯ ร่าง พ.ร.บ.กองทุนเสริมสร้างคุณภาพครูฯ (คณะกรรมาธิการการศึกษาและกีฬา:2559)

46 ปัจจัยและเงื่อนไข ประเด็นและองค์ประกอบ ที่จะต้องนำมาพิจารณาร่วม ในการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา

47 1.ทิศทางของโลก

48 คลื่นลูกที่ 3 ที่มีพลังเปลี่ยนโลก
โลกแห่งอนาคต Internet of Things คลื่นลูกที่ 3 ที่มีพลังเปลี่ยนโลก Industry 5.0 โลกผู้สูงอายุ,IoT (ตวง อันทะไชย:2559)

49 โลกแห่งความรู้เปลี่ยนไป
1.ความรู้ไม่ได้อยู่ที่ห้องเรียนหรือห้องสมุด หรือครูอีกต่อไป –Global Classes 2.E-Learning จะเข้ามามีบทบาท ? การจัดการความรู้จึงเป็นหัวใจสำคัญ Explicit + Tacit =ความรู้ในโลกนี้

50 (แดน เครก,WWW.Hotels.com:2559)
“คนไทยใช้เวลากับโซเชียลมากที่สุดในเอเชีย ประมาณ 3.4 ชม.และ3.55 ชม.กับโทรศัพท์ต่อวัน 68% โพสต์ภาพอวดเพื่อนใน Facebook 66% เช็กอินเพื่อให้เพื่อนอิจฉา และใช้ค้นหาร้านอาหารมากที่สุด 80% “ (แดน เครก,

51 โลกเปลี่ยน:ชีวิตเปลี่ยน
“ขาดเฟสเหมือนขาดใจ” สามอาทิตย์อดข้าว ลับลา น้ำขาดสามวันพา ชีพสิ้น อากาศหมดสามนา- ทีดับ เฟสตัดสามวิดิ้น ดั่งโลกแตกสลาย

52 Learning how to work together.
Learning how to learn. Learning how to do. Learning how to work together. Learning how to be. (UNESCO:2016)

53 2.ทิศทางในอาเซียน

54 ข้อตกลงอาเซียน ขั้วอำนาจใหม่ของโลก
ข้อตกลงอาเซียน ขั้วอำนาจใหม่ของโลก

55 จีน พม่า ลาว เวียดนาม ไทย กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย 55
EWEC เวียดนาม ไทย กัมพูชา ช่องแคบมะละกา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ช่องแคบซุนด้า ช่องแคบลอมบ็อค แหล่งที่มาของข้อมูล : 55

56 (สุรินทร์ พิศสุวรรณ . 2556 : 242 )
“อาเซียนสร้างขึ้นมาเพื่ออนาคต เพื่อให้เยาวชนมีชีวิตที่สะดวกมากขึ้น เห็นสิ่งต่างๆ หลากหลายท้าทายมากขึ้น อาเซียนคือบันไดไปสู่โลกกว้าง อีก 20 ปีข้างหน้า ชีวิตเยาวชนจะเต็มไปด้วยโอกาสและสิ่งที่ท้าทาย ต้องเตรียมตัวให้พร้อมตั้งแต่วันนี้ แล้วอาเซียนจะเป็นประตูทอง” (สุรินทร์ พิศสุวรรณ : 242 )

57 วัฒนธรรมที่แตกต่างต้องมาอยู่ร่วมกัน
วัฒนธรรมขงจื้อ-เวียดนาม,สิงคโปร์ วัฒนธรรมพุทธ-ไทย,พม่า,ลาว,กัมพูชา วัฒนธรรมอิสลาม-มาเลซีย,อินโดนีเซีย,บรูไน วัฒนธรรมคริสต์-ฟิลิปปินส์ กรมอาเซียน ,กระทรวงการต่างประเทศ อาเซียนมินิบุ๊ค(ASEAN Mini Book) 2555.

58 รูปแบบการเปิดเสรีการค้า AFAS(ASEAN Framework Agreement on Services)
บริการข้ามแดน(Cross-border Supply) บริโภคในต่างประเทศ(Consumption Abroad) จัดตั้งธุรกิจเพื่อให้บริการ (Commercial Presence) การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา (Presence of Natural Person) กรมอาเซียน ,กระทรวงการต่างประเทศ อาเซียนมินิบุ๊ค(ASEAN Mini Book) 2555.

59 ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน 52 คือทิศทางการศึกษาของอาเซียนและประเทศไทย

60 การศึกษากับสามเสา ประชาคมเศรษฐกิจ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
1.คุณภาพการศึกษาและภาษา 2.หลักสูตรปริญญาอาเซียน 3.พัฒนาและยกระดับครูบุคลากรทางการศึกษา ทุกระดับ 4.การศึกษาทางไกล/ e-learning 5.การวิจัยและพัฒนา ประชาคมเศรษฐกิจ 1.ทักษะในอาเซียน 2.มาตรฐานอาชีพ 3.ความพร้อมเปิดเสรีแรงงาน ประชาคมความมั่นคง 1.สิทธิมนุษยชน:สัญชาติอาเซียน 2.กฎบัตรอาเซียน 3.ตระหนักและเข้าใจ

61 กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ แนะนำให้รู้จักอาเซียน www.mfa.go.th
ข้อตกลงยอมรับร่วมกันในคุณสมบัตินักวิชาชีพอาเซียน (Mutual Recognition ArrangementหรือMRAs) 7 อาชีพที่เปิดบริการ วิศวกรรม บัญชี สถาปัตย์ สำรวจ ทันตแพทย์ แพทย์ พยาบาล การท่องเที่ยว กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ แนะนำให้รู้จักอาเซียน

62 ARTICLE 34 ข้อ 34 ภาษาที่ใช้ในการทำงานของอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ
WORKING LANGUAGE OF ASEAN The working language of ASEAN shall be English. ข้อ 34 ภาษาที่ใช้ในการทำงานของอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ

63 Sorry too ! I am sorry !! I am sorry too. I am sorry three.
What..for ? OK. ..! I am sorry five. Are you sick ? Ohhh.. I am sorry seven OK !!...

64 3.ทิศทางในประเทศ

65 กรอบในการมองและนำเสนอทิศทางในประเทศ
ปัจจัยภายนอก Digital Revolution The Fourth Industrial Revolution(4.0) SDGs 2030 การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ปัจจัยภายใน นโยบายรัฐ(4.0/มาตรา 54) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯฉบับที่ 12 แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560

66 “ทำอย่างไรให้ทุกคนมีโอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกัน ทั่วถึงและลดความเหลื่อมล้ำได้ คนจนรายได้น้อยขาดโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาชั้นมัธยมปลายและอุดมศึกษา มีคุณภาพทันสมัยทันต่อความต้องการของตลาดแรงงาน” (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี.รายการคืนความสุขให้คนในชาติ,2557:29 ส.ค.57)

67 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี(2560-2579) :2559
วิสัยทัศน์:ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หรือคติพจน์ประจำชาติ: มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน มี 6 ยุทธศาสตร์คือ ด้านความมั่นคง ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ด้านพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ

68 “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(1-10)ไม่ได้ มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาประเทศไทยและคนไทยไปสู่ Industry 4.0” ฉบับที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน ฉบับที่ 2 ยกระดับคุณภาพชีวิต กระจายเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3 กระจายความเจริญ ลดช่องว่างการพัฒนา ฉบับที่ 4 สร้างงานในชนบท เงินผัน ฉบับที่ 5 แก้ปัญหาความยากจน ฉบับที่ 6 พัฒนาคุณภาพชีวิต กระจายความเจริญ ฉบับที่ 7 สร้างความสมดุล กระจายรายได้ ฉบับที่ คนเป็นศูนย์การพัฒนา ยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

69 นโยบายไทยแลนด์ 4.0 คืออะไร ปัจจัยแห่งความสำเร็จคืออะไร ?

70 เปลี่ยนผ่านประเทศด้วยนโยบาย Thailand 4.0
Industry 4.0 เทคโนโลยีอัจฉริยะจะเข้ามามีบทบาท หุ่นยนต์จะแทนที่มนุษย์ IT จะมีอิทธิพลต่อโลกมนุษย์ Thailand 4.0 5 Clusters Innovation จะปรับตัวและรับมือกับโอกาสและความท้าทายอย่างไร ต้องปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนามนุษย์ (ตวง อันทะไชย:2559)

71 Industrial Revolution 1.0 (1784)

72 ประเทศไทยจะก้าวพ้นกับดักนี้อย่างไร ?
Middle Income สังคมผู้สูงอายุ จะเพิ่มทักษะและคุณภาพของแรงงานอย่างไร (ตวง อันทะไชย:2559)

73 Thailand 4.0 5 Clusters Innovation (ตวง อันทะไชย :2559)
Value-based Economy 5 Clusters Science & Technology Culture & Creativity Innovation Middle Income (ตวง อันทะไชย :2559)

74 Thailand 4.0=Product + Innovation
Healthcare:การดูแลสุขภาพ Automotive & Auto Part:อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ Transportation & Logistics:การเดินทางและขนส่งสินค้า Ecommerce:ช้อปปิ้งออนไลน์ Food Processing:แปรรูปอาหาร (ที่มา:TMB Analytics)

75 “หัวใจสำคัญของอุตสาหกรรม 4
“หัวใจสำคัญของอุตสาหกรรม 4.0 คือการทำให้ประเทศไทย กลายเป็นประเทศที่สามารถ1)สร้างนวัตกรรมได้ และ2)สร้างสินค้าที่เป็น แบรนดิ้งของคนไทย เพื่อส่งไปขายทั่วโลก” (เฉลิมพล ปุณโณทก ประธานบริหารผู้ก่อตั้งซีที เอเชีย โรบอติกส์ ,ผู้พัฒนาหุ่นยนต์ ดินสอ ออกสู่ตลาดโลก:2559)

76 “การกินข้าวคือสุนทรียะแห่งนาฏศิลป์ ไม่ต่างจากการชิมไวน์ชั้นเลิศ”
“การกินข้าวในร้านอาหารประหนึ่งสุนทรียะแห่งนาฎศิลป์ ที่มีอุปกรณ์ในการหุงข้าวเรียงรายประดับตกแต่งอย่าง ลงตัว เปิดฝาหม้อให้ไอหอมแห่งข้าวพวยพุ่งออกมาเตะจมูก ข้าวสวยในหม้อเรียงเมล็ดอวบขาวราวกับไข่มุกเนื้อดี ข้าวคือจิตวิญญาณของดีเอ็นเอของความเป็นญี่ปุ่น การกินข้าวนั้นละเมียดละไมไม่ต่างจากการชิมไวน์ชั้นเลิศ” (Tetsuhiro Yamaguchi)

77 ขายเป็น “คำ”

78 “ประเทศจะเป็นไทยแลนด์ 4. 0 ได้ ต้องพัฒนาให้คนไทยเป็นคนไทย 4
“ประเทศจะเป็นไทยแลนด์ 4.0 ได้ ต้องพัฒนาให้คนไทยเป็นคนไทย คนไทยจะเป็นคนไทย4.0 ได้ เพราะการศึกษาเท่านั้นและการศึกษานั้น จะต้องเป็นการศึกษา 4.0” (ตวง อันทะไชย:2559)

79 (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี:2557)
“อนาคตของชาติอยู่ที่การศึกษา ทำอย่างไรจะดูทั้งระบบตั้งแต่เล็กจนโตต่อเนื่อง ตั้งแต่การศึกษาขั้นพื้นฐาน ไปจนถึงอุดมศึกษา การศึกษาสร้างอาชีพ สร้างรายได้ มีงานทำ จบมาแล้วจะรับเข้าไปทำงานอย่างไร ต้องร่วมมือกันทั้งระบบ” (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี:2557)

80 (คณะกรรมาธิการการศึกษาและกีฬา:2559)
“การศึกษาไทยตกอยู่ในสภาพที่ไม่ทันยุคสมัย ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคสารสนเทศศตวรรษที่21ที่เน้นทักษะและที่จำเป็นในการดำรงชีวิตแต่การศึกษายังอยู่ในกรอบกับดักตัวเองให้กับการสอนให้เล่าเรียนสาระวิชาด้วยหนังสือเรียนเนื้อหาสรุปแบบฝึกหัดการสอบวัดผลความรู้ตามสาระวิชาภายใต้ปรัชญาสารัตถะนิยม” (คณะกรรมาธิการการศึกษาและกีฬา:2559)

81 ปฏิรูปการศึกษา เพื่อปฏิรูปประเทศอย่างไร ?

82 “ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ คือระบบการศึกษาที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถและเต็มตามศักยภาพ(Quality) ให้ไปไกลที่สุดเท่าที่ศักยภาพและความสามารถของแต่ละบุคคลพึงมี” (แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ :81)

83 “1)การจัดการศึกษาคือ การพัฒนาและเตรียมคน ให้ไปอยู่ได้ในสังคมอนาคตที่ไม่รู้ว่าจะเป็นอะไร ? 2)การจัดการศึกษาคือ การพัฒนาคน ให้เต็มศักยภาพที่ซ่อนอยู่ในตัวของผู้เรียน 3)เหมือนให้ ...นกอยู่บนฟ้า ปลาอยู่ในน้ำ... จึงจะเป็นอัจฉริยะ” (ตวง อันทะไชย:2559)

84 ระบบการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพของมนุษย์
ระบบการศึกษาไทย สายวิชาการ สายวิชาชีพ สายเชี่ยวชาญเฉพาะ Thailand4.0 แผ่นดินที่มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน

85 2)รูปแบบวิธีการสอนและการเรียนรู้ 3)การวัดผลและประเมินผล
“การศึกษาคือการช่วยให้ผู้เรียนค้นพบธาตุที่ซ่อนอยู่ตัวนั้น มันเกี่ยวข้องกับ 1)หลักสูตร 2)รูปแบบวิธีการสอนและการเรียนรู้ 3)การวัดผลและประเมินผล 4) การรับรองคุณภาพการศึกษา (เซอร์เคน โรบินสิน,2014:393)

86 1.ต้องปฏิรูปการเรียนรู้ 1)หลักสูตร 2)การเรียนการสอน 3)การสอบ และ 4) R&D
“กระบวนการเรียนรู้คือหัวใจสำคัญ ที่สร้างคนให้มีคุณภาพ เพื่อให้คนไปสร้างชาติ”

87 “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการเปลี่ยนแปลงโลกของโลกในศตวรรษที่ 21(3Rs+8Cs)” (แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ :16)

88 1.1.ต้องปฏิรูปหลักสูตรและการเรียนการสอน
Passive to Active “คนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ เชี่ยวชาญสามารถตามนัด รับผิดชอบ” ปรับวิธีวัดผลและประเมินผล ภาษา:English ปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอน Thailand 4.0 Industry 4.0 (ตวง อันทะไชย:2560)

89 Passive Learning to Active Learning
1.ห้องเรียนเปลี่ยนไป(Classroom) ไม่ใช่ที่เรียน แต่เป็นที่สร้างสรรค์ ค้นหา ฝึกทักษะ วาดรูป แต่งเพลง ออกแบบ 2.ครูเปลี่ยนไป(Teacher) 3.ระยะเวลาในการเรียนเปลี่ยนไป (Seat-Time Based) ไม่มีระยะเวลาในการจบ/ไม่มีเกรด/ไม่มีGPA แต่เป็นผลงาน (หุ่นยนต์/ภาพวาด/ซอฟท์แวร์) 4.วิธีการเรียนการสอนเปลี่ยนไป 5.วิธีการวัดผลและประเมินผลเปลี่ยนไป (ตวง อันทะไชย:2559)

90 งานวิจัยที่สอดคล้องกับแนวคิดดังกล่าว

91 (คณะกรรมาธิการการศึกษาและกีฬา:2559)
“การศึกษาไทยตกอยู่ในสภาพที่ไม่ทันยุคสมัย ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคสารสนเทศศตวรรษที่21ที่เน้นทักษะและที่จำเป็นในการดำรงชีวิตแต่การศึกษายังอยู่ในกรอบกับดักตัวเองให้กับการสอนให้เล่าเรียนสาระวิชาด้วยหนังสือเรียนเนื้อหาสรุปแบบฝึกหัดการสอบวัดผลความรู้ตามสาระวิชาภายใต้ปรัชญาสารัตถะนิยม” (คณะกรรมาธิการการศึกษาและกีฬา:2559)

92 (สภาปฏิรูปแห่งชาติ.2558:69)
“ปฏิรูปหลักสูตรในการเรียนการสอนทุกระดับให้มีความเหมาะสม ทันสมัย ปฏิรูปวิธีการจัดการเรียนการสอนให้รู้จักคิดด้วยเหตุผลและหาความรู้เองได้ ปฏิรูปการวัดผลการศึกษาให้สะท้อนถึงผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและปฏิรูปการสร้างองค์ความรู้ใหม่โดยใช้มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัย” (สภาปฏิรูปแห่งชาติ.2558:69)

93 (ไพฑูรย์ สินลารัตน์. 2559 :9)
“หลักสูตรและการเรียนการสอนยังเป็นระบบบริโภคความรู้ บริโภคความเข้าใจ บริโภคค่านิยมที่กำหนดไว้ในสังคม ไม่ได้ส่งเสริมให้ผู้เรียน สร้าง คิดประดิษฐ์และพัฒนาสิ่งต่าง ๆ ขึ้นมาใหม่ ให้แก่ตนเองและสังคม” (ไพฑูรย์ สินลารัตน์ :9)

94 " การศึกษาไทยในโลกยุคใหม่ต้องก้าวสู่การคิดวิเคราะห์ ค้นคว้าสิ่งใหม่ แต่ไทยยังท่องจำเพื่อไปสอบ ถ้าเรายังไม่ปรับตัวตอนนี้ เราอาจจะไม่ใช่สิ้นชาติ แต่จะหมดโอกาสในการสร้างชาติ ดังนั้นการศึกษาจะเป็นเครื่องมือสำคัญในการยกระดับคุณภาพแรงงานให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงสู่ยุค Thailand Economy 4.0 แต่ระบบการศึกษาที่จะตอบโจทย์นี้ ต้องเปลี่ยนวิธีการสอน ลดการเรียนรู้เชิงเทคนิค และการท่องจำ แต่ให้น้ำหนักกับการสร้างทักษะการเรียนรู้และปรับตัวของผู้เรียนให้สามารถพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิต และจัดการเรียนรู้โดยคำนึงถึงความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่และกลุ่มจังหวัดใกล้เคียง รวมทั้งมีวิธีการประเมินผลการเรียนแตกต่างจากปัจจุบันที่เน้นการสอบเพียงอย่างเดียว" (อนันต์ ล้วนแก้ว:2559)

95 1)ต้องปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอน 2)ต้องคัดเลือกและพัฒนาผู้บริหารการศึกษา และครูให้มีคุณภาพและแรงจูงใจในการทำงาน 3)ต้องกระจายอำนาจให้โรงเรียนมีอิสระ และรับผิดชอบ “ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของฟินแลนด์และสิงคโปร์” รศ.วิทยากร เชียงกูล รายงานสภาวะการศึกษาไทย ปี 2557/ เรื่อง จะปฏิรูปการศึกษาไทยให้ทันต่อศตวรรษที่ 21 ได้อย่างไร

96 (ศักดิ์สิน โรจน์สราญรมย์:2560)
“ผลการศึกษาแบบ Passive Learning สะท้อนให้เห็นในสังคมไทยดังนี้ 1)ประเทศไม่เป็นสังคมฐานความรู้ มีปัญหาความขัดแย้ง 2)สังคมที่มีคุณภาพการศึกษาต่ำ )ประเทศเป็นสังคมบริโภค มากกว่าสังคมผู้ผลิต” (ศักดิ์สิน โรจน์สราญรมย์:2560)

97 “เพียงเปลี่ยนแปลงแบบลอกเลียนแบบ โดยไม่เปลี่ยนแปลงเนื้อหาสาระ การปฏิรูปหมายถึงการเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษาหรือกระบวนการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ” (วิทยากร เชียงกูล : 2558)

98 1.2.ต้องปฏิรูป การวิจัยเพื่อพัฒนาชาติ (R&D)

99 “ต้องผลิตนักวิทยาศาสตร์ให้ได้มาก ๆ และต้องผลิตงานวิจัยและพัฒนา เพื่อมาพัฒนาประเทศเช่นกัน การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมมีความจำเป็นเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ และหน่วยงานที่ทำงานวิจัยต้องทำงานร่วมกัน” พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี. 2557:56 (รายการคืนความสุขให้คนในชาติ 19 ธ.ค.57)

100 ปลาร้าก้อน R&D ของคนร้อยเอ็ด

101 R&D แบบไทย ๆ

102 ...นวัตกรรมยานยนต์แห่งอนาคตของคนไทย รถจักรยานยนต์ ไม่ต้องง้อน้ำมันอีกต่อไปวิ่งได้ 70/ชม.วิทยาลัยการอาชีพศรีสัชนาลัย ...จักรยานยนต์ไฟฟ้าพลังงานแม่เหล็ก จ.สุโขทัย

103 “การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย ร้อยละ 0
“การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย ร้อยละ 0.4 ต่อ GDP คิดเป็นบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาต่อประชากร 11 : 10,000 คน ขณะที่ประเทศจีน สิงคโปร์ ไต้หวัน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จะมีงบลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา 1.8, 2.3, 2.9 ,3.6 และ 4.6 ตามลำดับ” (สำนักงบประมาณของรัฐสภา.2559:13)

104 R&D รัฐและเอกชนต้องลงทุน เพื่อ -Creative Design -Cultural Product
(สุรินทร์ พิศสุวรรณ : 101)

105 1.3.อาชีวศึกษา “ให้โอกาส สร้างงาน สร้างอาชีพ มีรายได้ ลดความเหลื่อมล้ำ”

106 “ทำอย่างไรให้ทุกคนมีโอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกัน ทั่วถึงและลดความเหลื่อมล้ำได้ คนจนรายได้น้อยขาดโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาชั้นมัธยมปลายและอุดมศึกษา มีคุณภาพทันสมัยทันต่อความต้องการของตลาดแรงงาน” (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี.รายการคืนความสุขให้คนในชาติ,2557:29 ส.ค.57)

107 (รายการคืนความสุขให้คนในชาติ:26 ก.ย.57)
“ต้องการให้มุ่งเน้นสายวิชาชีพมากขึ้น นักเรียนอาชีวะเป็นแรงงานที่มีคุณค่า มีขีดความสามารถและทักษะสำคัญต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ” (รายการคืนความสุขให้คนในชาติ:13 มี.ค.57) “ต้องยกระดับการศึกษาสายอาชีวะให้เป็นรากฐานสำคัญของประเทศ ให้มีการสร้างภาพลักษณ์ว่านักเรียนสายอาชีวะเป็นบุคลากรที่ทรงคุณค่าของประเทศและเศรษฐกิจไทย” (รายการคืนความสุขให้คนในชาติ:26 ก.ย.57) (นโยบายด้านอาชีวศึกษาของฯพณฯนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา:2557)

108 คือปฏิรูปการเรียนรู้ เพื่อสร้างคน คนสร้างชาติ
คือปฏิรูปการเรียนรู้ เพื่อสร้างคน คนสร้างชาติ 1.เปลี่ยนแนวคิดจาก “เรียนไปหางานทำ” ไปสู่แนวคิดใหม่ “วันแรกที่เรียนก็ได้งานทำแล้ว” 2.เปลี่ยนแนวคิดจาก ค่าตอบแทนตามใบปริญญาไปสู่ ตอบแทน ตามความสามารถและเชี่ยวชาญ 3.เปลี่ยนแนวการเรียนจากห้องเรียนไปสู่ เรียนจากปฏิบัติการจริง การทำงานคือการเรียน ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ คือเกรดสะสมหรือโอนเพื่อระดับสูงขึ้น 4.พลเมืองสร้างมูลค่า-มีรายได้-เสียภาษี-ลดความเหลื่อมล้ำ=สร้างชาติ

109 ระบบทวิศึกษาแบบประยุกต์ไทย
สถานประกอบการ ภาครัฐ สถานศึกษา 1.คัดกรอง 2.สอน ประเมิน ทฤษฎี 3.ออกวุฒิการศึกษา 1.คัดกรอง 2.ฝึกอาชีพ วินัย 3.ร่วมพัฒนาหลักสูตร 4.ออกวุฒิบัตรรับรอง 1.ส่งเสริม รัฐ+เอกชน 2.แรงจูงใจ สถานศึกษา,สถานประกอบการและผู้เรียน (ตวง อันทะไชย:2558)

110 จบ:บรรจุหรือธุรกิจส่วนตัว ได้ ปวช.และม.6
กระบวนการ ROIET Model (ตวง อันทะไชย:2558) เลือกอาชีพสมัครงาน+สมัครเรียน เปิดตลาดอาชีพ จบ:บรรจุหรือธุรกิจส่วนตัว ได้ ปวช.และม.6 บูรณาการหลักสูตร ฝึกงานที่สถานประกอบการ สามัญและอาชีวะแยกสอน

111 ผลการศึกษานำร่องและดำเนินการ(2557-2559)
คือการศึกษาแบบ Active Learning ตอบโจทก์ Thailand4.0 คือการศึกษาเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ : เมือง-ชนบท, รวย-ยากจน คือการศึกษาที่แก้ปัญหาการทะเลาะวิวาทนักเรียนอาชีวะ สร้างวุฒิภาวะให้แก่ผู้เรียน คือความสุขของพ่อแม่ ครู นักเรียนและผู้ประกอบการ

112 1.4.การศึกษา เพื่อแก้ปัญหาและรองรับสังคมผู้สูงอายุสมบูรณ์แบบ ในประเทศไทย

113 เพื่อรองรับและแก้ปัญหา “ผู้สูงอายุจะมากกว่าเด็ก
ต้องจัดการศึกษา เพื่อรองรับและแก้ปัญหา สังคมผู้สูงอายุในปี 2561 “ผู้สูงอายุจะมากกว่าเด็ก หรือประมาณ 1 ใน 5 ของประชากรทั้งหมด” (สำนักงานสถิติแห่งชาติ:2559)

114 จะจัดการศึกษาอย่างไร
การสร้างงานที่เหมาะสม การฟื้นฟูและดูแลสุขภาพ การชะลอการทุพพลภาพและโรคเรื้อรัง การสร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมที่เอื้อต่อสังคมผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ/หลักสูตรเตรียมผู้สูงอายุ สร้างรูปแบบการออมตั้งแต่เริ่มทำงานเพื่อเตรียมตัวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ

115 2.ต้องกระจายอำนาจ 1)วิชาการ 2)บุคคล 3)งบประมาณ 4)บริหารทั่วไป
“อำนาจ ไม่สามารถสั่งให้เกิดคุณภาพการศึกษาได้ แต่อำนาจอำนวยการให้เกิดคุณภาพการศึกษาได้”

116 “คำสั่งหรืออำนาจไม่สามารถสั่งให้เกิดคุณภาพการศึกษาได้ แต่อำนาจอำนวยการให้เกิดคุณภาพการศึกษาได้ การรวบอำนาจเข้าสู่ส่วนกลางคือรากเหง้าของการทุจริตคอรัปชั่นเพราะขาดการตรวจสอบและควบคุม การรวบอำนาจทำให้เกิดระบบอุปถัมภ์ ต้องกระจายอำนาจและให้มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษาจึงจะแก้ปัญหาเรื่องคุณภาพการศึกษาและทุจริตคอรัปชั่นได้” (ตวง อันทะไชย:2559)

117 ต้องกระจายอำนาจไปสถานศึกษา
Innovation จุดเปลี่ยนและคานงัด คือปฏิรูปการบริหารจัดการ ครูคือหัวใจสำคัญ ปลดปล่อยพันธนาการจากครูสู่ผู้เรียน (ตวง อันทะไชย:2558)

118 โรงเรียนนิติบุคคล Thai4.0 F1/2เครือข่าย F2กลุ่ม F1 เดี่ยว สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ 4.0 สพฐ. สนง.นิติบุคคล กระทรวงฯ สพฐ. ปปช. ปปง. สตง. เขตฯ สมัชชา กศ.จังหวัด โรงเรียนนิติบุคคล (วิชาการ,บุคคล,งบฯ,ทั่วไป) Thai4.0 F1/2เครือข่าย F2กลุ่ม F1 เดี่ยว (ตวง อันทะไชย:2559)

119 โครงสร้างที่สอดคล้องกันตามรัฐธรรมนูญฯมาตรา 258 จ.
ศธ. Policy Regulator เอกภาพในนโยบาย หลากหลายวิธีการ ภาค ผู้ตรวจการ กำกับ ติดตาม Balance check จังหวัด ประชารัฐจังหวัด แผนและยุทธศาสตร์จังหวัด สนับสนุน ส่งเสริม Area-based สถานศึกษา อิสระ ภายใต้กำกับ ศธ. รับผิดชอบต่อคุณภาพการศึกษาและชุมชน (ตวง อันทะไชย:2560)

120 ระดับปฏิบัติการ(Operator):สถานศึกษา
โครงสร้างที่เหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการ:Policy สนง.นิติบุคคล/สพฐ./อาชีวะ/กศน./สช./สภาการศึกษา/อุดมศึกษา/สป.:ระดับยุทธศาสตร์/Regulator ภูมิภาค:ตรวจการ /ตรวจสอบ/กำกับ จังหวัดการศึกษา Area-based: แผนพัฒนาจังหวัด และยุทธศาสตร์จังหวัด เขต/ระดับพื้นที่ส่งเสริม พัฒนา/ต่อยอด : ส่งเสริมปฏิบัติการRegulator ระดับปฏิบัติการ(Operator):สถานศึกษา คณะกรรมการ อิสระ: 4 งาน/ห้องเรียน

121 สอดคล้องกับผลการศึกษาและงานวิจัย

122 ปรัชญาการศึกษาและโครงสร้างการบริหาร
ปรัชญาและการบริหาร Ed1.0 ED2.0 Ed3.0 Ed4.0 Ed5.0 ปรัชญา (ไพฑูรย์ สินลารัตน์:2559) รับราชการ รับราชการ/รับใช้อุตสาหกรรม รับราชการ/รับใช้อุตสาหกรรม/ผู้ประกอบ การ คิดเป็นผลิตภาพ/เศรษฐกิจฐานความรู้/ผู้ประกอบการ ?????? การบริหาร (ตวง อันทะไชย:2559) รวบอำนาจสู่ส่วนกลาง (ผู้ว่าฯ/ศึกษา) คณะกรรมการทุกระดับ กระจายเขตพื้นที่/มีส่วนร่วม กระจายอำนาจ/นิติบุคคล/กระทรวงเล็กลง ???????

123 “ปฏิรูปการศึกษา ปี 2542 ปฏิรูปองค์กรมากกว่าการศึกษา ปฏิรูปจากบนลงล่างเพื่อผู้ใหญ่มากกว่าเด็กและปฏิรูปโครงสร้างมากกว่าเรียนรู้ ต่อไปนี้ควรปฏิรูปกลับทางกัน โดยปฏิรูปจากล่างขึ้นบน ปฏิรูปการเรียนรู้ก่อนแล้วค่อย ๆ ปฏิรูปอย่างอื่นตามมา” (ไพฑูรย์ สินลารัตน์ : 2558)

124 “ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการศึกษา ให้กระทรวงศึกษาธิการ จากผู้กำกับนโยบาย มาเป็นผู้ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาและพัฒนารูปแบบการกระจายอำนาจสู่พื้นที่และสถานศึกษา โดยคำนึงถึงความพร้อมและเงื่อนไข ที่เหมาะสม ส่งเสริมให้สถานศึกษามีความเข้มแข็ง บริหารจัดการศึกษาได้ด้วยตนเองในรูปแบบ นิติบุคคลหรือในกำกับรัฐ” (แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ :135)

125 “แนวทางการแก้ไขปัญหาคุณภาพการศึกษาที่เหมาะสมกับประเทศไทยคือการกระจายอำนาจ(decentralization) โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์จำนวนมากยืนยันว่าการกระจายอำนาจด้านการศึกษาสามารถพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีส่วนร่วมจากชุมชนและผู้ปกครอง” อ้างอิงจาก : วีระชาติ กิเลนทอง,สภาวะการศึกษาปี 2558/2559 เรื่องความจำเป็นของการแข่งขันและการกระจายอำนาจในระบบการศึกษาไทย,สภาการศึกษา.2560:173.

126 (สภาปฏิรูปแห่งชาติ.2558:53)
“ต้องกระจายอำนาจไปยังสถานศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด แยกบทบาทระหว่างฝ่ายควบคุมและกำกับ(Regulator)กับฝ่ายปฏิบัติ(Operator) ออกจากกันให้ชัดเจน ระบบที่รวมศูนย์ไว้ส่วนกลางมากเกินไปยังเป็นช่องทางให้มีการแสวงหาผลประโยชน์ ขาดระบบติดตามทำให้ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาโดยรวมของประเทศ” (สภาปฏิรูปแห่งชาติ.2558:53)

127 “หัวใจสำคัญของการปฏิรูปการศึกษาอยู่ที่ การสร้างความรับผิดชอบ(Accountability) เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยให้โรงเรียน มีความรับผิดชอบโดยตรงต่อผู้ปกครองและนักเรียน แต่โรงเรียนต้องเป็นอิสระ ในการบริหารจัดการ” (สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์.TDRI:2558)

128 กระทรวงศึกษาในอนาคต : ต้องเล็กลง
ปรับบทบาทอำนาจหน้าที่ Regulator & Operator สลายกำแพงกั้นของอาณาจักรขององค์กรทางการศึกษาเป็นพื้นที่ทางการศึกษาสำหรับผู้เรียนประสานทุกภาคส่วน ปรับโครงสร้างให้เหมาะสม เช่น “จังหวัดการศึกษา” กำกับดูแล ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ตามมาตรฐานของชาติและมาตรฐานของผู้ประกอบการ บทบาทหน้าที่ในการวิจัยระบบการศึกษา สร้างหลักประกันคุณภาพการศึกษา กระจายอำนาจไปให้สถานศึกษามีอิสระและรับผิดชอบ ในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องของผู้เรียน

129 (คณะกรรมาธิการการศึกษาและกีฬา:2559)
“โรงเรียนคือฐานปฏิบัติการสุดท้ายที่ส่งผลถึงตัวเด็กเสมือนเป็นแหล่งปลูกสร้างผลผลิตพลเมืองที่มีคุณภาพและคุณธรรม หากโรงเรียนมีความเข้มแข็งย่อมจะส่งผลต่อตัวนักเรียนให้มีความเข้มแข็งได้เช่นเดียวกัน โรงเรียนหมายถึงการบริหาร ครู ผู้บริหาร อาคารสถานที่ วัสดุ ครุภัณฑ์ สื่อการเรียนการสอน ทรัพยากร งบประมาณ สิ่งแวดล้อม ชุมชนและท้องถิ่นด้วย” (คณะกรรมาธิการการศึกษาและกีฬา:2559)

130 3.ต้องมีกฎหมายแม่บท ว่าด้วยการปฏิรูปการศึกษา

131 1).งานประจำ 2).อำนาจ 3).ปรากฎการณ์
กับดัก 3 ทางการศึกษา 1).งานประจำ 2).อำนาจ 3).ปรากฎการณ์

132 (สภาปฏิรูปแห่งชาติ.2558:60)
“ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับองค์กรวิชาชีพครู ก.ค.ศ. คุรุสภา สกสค.ใหม่ให้สามารถเป็นองค์กรที่ควบคุมคุณภาพดูแลวิชาชีพ สวัสดิการในวิชาชีพได้อย่างแท้จริง ปราศจากอิทธิพลของกลุ่มแสวงหาผลประโยชน์” (สภาปฏิรูปแห่งชาติ.2558:60)

133 กำหนดเป้าหมาย ปรัชญาและทิศทาง การปฏิรูปการศึกษา เพื่อปฏิรูปประเทศ
ปฏิรูปการศึกษาเพื่อ แก้ปัญหา ปฏิรูปการศึกษาเพื่อ ต่อยอด ปฏิรูปการศึกษาเพื่อไปสู่จินตนาการใหม่

134 “คนที่ไม่ใช่นักการศึกษาหรือคนที่ไม่เข้าใจในการศึกษา หากจะปฏิรูปการศึกษามักจะมีสูตรสำเร็จรูปดังนี้ )แข่งขันระหว่างโรงเรียนให้หนักมากขึ้น ให้รางวัลและโล่มากขึ้น 2)ให้ครูรับผิดชอบมากขึ้นและรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา 3)ปิดโรงเรียนที่ด้อยคุณภาพและเปิดโรงเรียนทางเลือกที่ดีกว่า 4)ใช้รูปแบบการบริหารแบบบริษัทมาแก้ปัญหา 5)ขยับเข้าหาอำนาจนิยม รัฐบาลกลางจะสั่งว่า จะเรียนเรื่องอะไร เรียนอย่างไร จะสอนอะไร สอนอย่างไร ด้วยวิธีไหน ผลก็คือเลวร้ายกว่าเดิม” (ปาสิ ซอห์ลเบิร์ก 2559:56)

135 “บทเรียนทั่วโลก เขาทำกันอย่างไร
“บทเรียนทั่วโลก เขาทำกันอย่างไร 1)พัฒนาครูให้สอนเก่งและวินิจฉัยผู้เรียนเก่ง 2)ทดสอบเท่าที่จำเป็น 3)ให้ความไว้เนื้อเชื่อใจแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษามากกว่าวางมาตรฐานและความรับผิดชอบให้ครู 4)ลงทุนเพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา 5)ยกหน้าที่การบริหารโรงเรียนและเขตการศึกษา ให้เป็นของนักการศึกษามืออาชีพ ผลก็คือ PISA สูงขึ้นทุกประเทศ” (ปาสิ ซอห์ลเบิร์ก 2559:57)

136 ทิศทางการศึกษาไทยในอนาคต

137 ระบบการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพของมนุษย์
ระบบการศึกษาไทย สายวิชาการ สายวิชาชีพ สายเชี่ยวชาญเฉพาะ Thailand4.0 แผ่นดินที่มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน

138 Area-based “จังหวัดการศึกษา”
แผนพัฒนาและงบ ยุทธศาสตร์จังหวัด ประชารัฐจังหวัด การศึกษาจังหวัด Regulator Area-based สพฐ. (ป/ม) เอกชน หอการค้า อปท. อุตสาหกรรม กศน. อุดม อาชีวะ (ตวง อันทะไชย:2560)

139 โรงเรียนนิติบุคคล Thai4.0 F1/2เครือข่าย F2กลุ่ม F1 เดี่ยว สพฐ.
กระทรวงศึกษาธิการ 4.0 สพฐ. สนง.นิติบุคคล กระทรวงฯ สพฐ. ปปช. ปปง. สตง. เขตฯ สมัชชา กศ.จังหวัด โรงเรียนนิติบุคคล (วิชาการ,บุคคล,งบฯ,ทั่วไป) Thai4.0 F1/2เครือข่าย F2กลุ่ม F1 เดี่ยว (ตวง อันทะไชย:2559)

140 ระดับปฏิบัติการ(Operator):สถานศึกษา
โครงสร้างที่เหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการ:Policy สนง.นิติบุคคล/สพฐ./อาชีวะ/กศน./สช./สภาการศึกษา/อุดมศึกษา/สป.:ระดับยุทธศาสตร์/Regulator ภูมิภาค:ตรวจการ /ตรวจสอบ/กำกับ จังหวัดการศึกษา Area-based: แผนพัฒนาจังหวัด และยุทธศาสตร์จังหวัด เขต/ระดับพื้นที่ส่งเสริม พัฒนา/ต่อยอด : ส่งเสริมปฏิบัติการRegulator ระดับปฏิบัติการ(Operator):สถานศึกษา คณะกรรมการ อิสระ: 4 งาน/ห้องเรียน

141 “การทำทุกอย่างเหมือนเดิม แต่คาดหวังผลสัมฤทธิ์ที่แตกต่าง คือยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาที่ล้มเหลว”
(แอนดี ฮาร์กริฟส์.2559:23)

142 “ชุดความรู้หรือปัญญาที่เท่ากับปัญหา ย่อมไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ แต่ชุดความรู้หรือปัญญาที่มากกว่า สลับซับซ้อนมากกว่า ดีกว่าปัญหา เท่านั้น จึงจะแก้ไขปัญหาได้”

143 เป้าหมายคุณภาพการศึกษาของชาติ ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579
เป้าหมายคุณภาพการศึกษาของชาติ ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ ตัวชี้วัด ปัจจุบัน ปีที่(1-5) ปีที่(6-10) ปีที่(11-15) ปีที่(16-20) O-NET น้อยกว่า 50 50 55 60 65 PISA 421/409/415 500 510 520 530 IMD 52 48 44 40 36 อาชีวะ สูงขึ้น 40:60 45:55 50:50 60:40 70:60

144 “การปฏิรูปการศึกษาให้ประสบความสำเร็จนั้น จะต้องอาศัย เวลา ความอดทน ความมุ่งมั่น ความเสมอต้นเสมอปลาย และความสำเร็จหรือความล้มเหลว ของการปฏิรูปการศึกษามิใช่เกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่ง หากแต่มาจากปัจจัยและเงื่อนไขหลายอย่างมาประกอบกัน เช่น ด้านการศึกษา ด้านการเมืองและด้านวัฒนธรรม เป็นต้น” (ตวง อันทะไชย:2560)

145 ความมุ่งมั่นแห่งอุดมการณ์
สังคมที่ไม่มีความฝันคือสังคมที่ตายแล้ว โอกาสนี้โอกาสเดียวที่จะปฏิรูปการศึกษาไทยได้/งานวิจัย-ผู้นำชูธง การเมืองนิ่งและต่อเนื่อง ปฏิรูปเพื่อประเทศ/คนข้างหลัง/มิใช่เพื่อพวกเรา การศึกษาคือเครื่องมือเดียวในการเปลี่ยนผ่านประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ฟินแลนด์ เป็นต้น

146 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google