งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Roadmap RUN for Thailand 4.0

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Roadmap RUN for Thailand 4.0"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Roadmap RUN for Thailand 4.0
ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร. มงคล เตชะกำพุ ผู้ช่วยศาตสราจารย์ ดร. ชาลิดา บรมพิชัยชาติกุล RUN Administration Office

2 RUN administration structure
Deputy Director

3 RUN ADMINISTRATION OFFICE
แนวคิดของการบริหาร RAO: RUN FITS (Facilitate: InformaTive Strengthen) ขอบเขตหน้าที่การดำเนินงาน 1. ส่งเสริมการสร้างกำลังนักวิจัยที่มีศักยภาพ (Talent researchers) 2.ติดตามและรวบรวมผลการดำเนินงานของ RUN และ กิจกรรมของคลัสเตอร์ต่างๆ 3.ส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งให้กับคลัสเตอร์ เช่น การเชื่อมโยงกับต่างประเทศ ภาคเอกชน และอุตสาหกรรม จัดสัมมนาหรือบรรยายพิเศษ 4. ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือ ห้องปฏิบัติการ หรืองานวิจัย ที่แต่ละมหาวิทยาลัยมี หรือ โอกาสของทุนวิจัย ให้กับคลัสเตอร์เพื่อสร้างการแบ่งปันและบูรณาการระหว่างมหาวิทยาลัยและคลัสเตอร์ 5. งานสารบรรณ ติดต่อและประสานงาน บัญชีและเบิกจ่าย

4

5

6 THAILAND 4.0

7 ประเทศไทย 4.0 ไทยในยุค 1.0 2.0 และ 3.0 รายได้ประเทศยังอยู่ในระดับ
“ประเทศไทย 1.0” เน้นการเกษตรเป็นหลัก เช่น ผลิตและขาย พืชไร่ พืชสวน หมู หมา กา ไก่ เป็นต้น “ประเทศไทย 2.0” เน้นอุตสาหกรรมแต่เป็นอุตสาหกรรมเบา เช่น การผลิตและขายรองเท้า เครื่องหนัง เครื่องดื่ม เครื่องประดับ เครื่องเขียน กระเป๋า เครื่องนุ่งห่ม เป็นต้น และปัจจุบัน (2559) ”ประเทศไทย 3.0”  เป็นอุตสาหกรรมหนักและการส่งออก เช่น การผลิตและขาย ส่งออกเหล็กกล้า รถยนต์ กลั่นนำมัน แยกก๊าซธรรมชาติ ปูนซีเมนต์ เป็นต้น ไทยในยุค 1.0  2.0 และ 3.0 รายได้ประเทศยังอยู่ในระดับ ปานกลาง ”ประเทศไทย 4.0” ให้เป็นเศรษฐกิจใหม่ (New Engines of Growth) มีรายได้สูง

8 A Nation of Makers Design of Innovation Made in India Creative Economy

9 ทฤษฎี 3 สูง 1 ต่ำ คือ การสร้างมูลค่าเพิ่ม ประสิทธิภาพเพิ่ม ผลผลิตเพิ่ม ทั้ง 3 ด้าน แต่ต้องหาแนวทางลดต้นทุน เพื่อปรับสมดุลการประกอบธุรกิจ เพื่อมุ่งสู่ภาคเกษตร 4.0 จะทำให้ภาคเกษตรยุคใหม่แข่งขันได้ในตลาดโลก ไทยแลนด์ 4.0 จะเปลี่ยนประเทศไทยตามกระแสโลกที่เปลี่ยนแปลง

10 เหตุผลของการพัฒนางานวิจัยเพื่อสนองความต้องการของประเทศ
ประเทศไทยพึ่งพารายได้เฉพาะด้านการส่งออก ขาดเรื่องนวัตกรรมด้านการแข่งขัน (Competiveness) ประเทศไทยมีนักวิจัยที่มีศักยภาพระดับนานาชาติ มีผลงานวิจัยค่อนข้างมากเมื่อเปรียบเทียบกับการลงทุนด้านงานวิจัยที่ค่อนข้างต่ำ งานวิจัยค่อนข้างเป็นงานวิจัยที่สอดคล้องกับความสามารถของนักวิจัย และมักกระจุกตัวอยู่ในมหาวิทยาลัย เป้าหมายของมหาวิทยาลัยในอดีตและปัจจุบัน คือ การสร้างคน (human development) แต่การสร้างงานวิจัยที่ตอบสนองกับความต้องการของประเทศและเน้นการสร้างนวัตกรรมเพื่อการแข่งขันยังไม่ชัดเจน ตัวชี้วัดของงานวิจัยไทยสอดคล้องกับต่างประเทศ คือเน้นการตีพิมพ์ การมีการอ้างอิงสูง และคล้อยตามตัวชี้วัดที่มหาวิทยาลัยต่างประเทศไทยได้เปรียบ จึงเป็นการยากที่มหาวิทยาลัยไทยจะติดอันดับโลกในอันดับสูง จะมีก็เพียงไม่กี่มหาวิทยาลัยที่มีศักยภาพและตอบสนองตัวชี้วัดของมหาวิทายลัยระดับโลก (World Class University) เท่านั้น แนวคิดใหม่ในการสร้างประเทศด้วยด้วยการขับเคลื่อนแนวการวิจัยแบบมุ่งเป้า (targeting) และผลักดันด้วยการตลาดชี้นำ (Market driven) โดยมีการลงทุนแบบเจาะจง จะเป็นการสร้างความสามารถในการแข่งขันในเวทีการค้า และการสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูง (High value added products) การดึงความร่วมมือจากภาคเอกชนเป็นสิ่งที่ต้องทำ โดยต้องมีการลงทุนร่วมวิจัยกับรัฐบาลในการวิจัยมุ่งเป้า (Target research for Thailand competiveness) อีกทั้งให้มหาวิทยาลัยมีการสร้างบุคลากรให้เหมาะสมและพอเพียง จำต้องรวมพลังมหาวิทยาลัยทุกมหาวิทยาลัย และหน่วยงานรัฐดำเนินงานวิจัยตอบสนองความต้องการของประเทศ การเป็นประเทศไทย 4.0 จำต้องมีการทำงานร่วมกันของภาคการศึกษา มหาวิทยาลัย ควรร่วมมือกันมากขึ้น เพื่อสร้าง impact ของงานวิจัยของประเทศ

11 รายได้ ความเหลื่อมล้ำ และความไม่สมดุล
กับดักความเหลื่อมล้ำของความมั่นคง กับดักของความไม่สมดุลในการพัฒนา กับดักรายได้ปานกลาง Who will move my cheese? RUN รายได้ ความเหลื่อมล้ำ และความไม่สมดุล

12 ไทยแลนด์ 4.0 จะพัฒนาเรื่องใดบ้าง?
เพื่อให้เกิดผลจริงต้องมีการพัฒนาวิทยาการ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจัยและพัฒนา แล้วต่อยอดในกลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย ดังนี้ 1. กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น สร้างเส้นทางธุรกิจใหม่ (New Startups) ด้านเทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีอาหาร เป็นต้น 2. กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ เช่น พัฒนาเทคโนโลยีสุขภาพ เทคโนโลยีการแพทย์ สปา เป็นต้น 3. กลุ่มเครื่องมือ อุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม เช่น เทคโนโลยีหุ่นยนต์ เป็นต้น 4. กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่เชื่อมต่อและบังคับอุปกรณ์ต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว เช่น เทคโนโลยีด้านการเงิน อุปกรณ์เชื่อมต่อออนไลน์โดยไม่ต้องใช้คน เทคโนโลยีการศึกษา อี–มาร์เก็ตเพลส อี–คอมเมิร์ซ เป็นต้น 5. กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการที่มีมูลค่าสูง เช่น เทคโนโลยีการออกแบบ ธุรกิจไลฟ์สไตล์ เทคโนโลยีการท่องเที่ยว การเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ เป็นต้น

13

14 Asean ความคาดหวัง THAILAND GROWTH สกว วช สวก เอกชน สวทช สวทน
Cross innovation/ Intercluster flagship Sincerely, Equally, Excellently SHARING วิสัยทัศน์ คลัสเตอร์ Energy Health Agri Food ASEAN Asean CM Material Robotic Digital แผนงาน /โครงการ สกว วช สวก แหล่งทุนสนับสนุน และร่วมมือวิจัย สวทช สวทน หน่วยงานรัฐ ต่างประเทศ เอกชน ความคาดหวัง THAILAND GROWTH

15

16

17

18

19 ประชุมร่วมกับ ผอ สถาบันอาชีวะศึกษา

20 การประชุมร่วมมือกับ รพ บ้านแพ้ว สมุทรสาคร

21 แนวทางวิจัยร่วมกับ บริษัท มิตรผล จำกัด
UVA and remote sensing satellite IoT Sensors Big data analysis Data driven precision management with GPS guidance for tractors and equipment

22

23 โครงการท้าทายไทย (Grand Challenges Thailand)

24

25 ยุทธศาสตร์จากศาสตร์พระราชา
ไทยแลนด์ 4.0 เป็นโมเดลที่น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้นตอน ต้องสร้างพื้นฐานความพอมีพอกินพอใช้ของประชาชนเป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจขึ้นได้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนการปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่างๆ ได้ ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวในที่สุด

26 ศาสตร์พระราชา ขยายผล โจทย์ ทดลอง ทดลอง ทดลอง ทดลอง ต้นแบบ เข้าถึง
พัฒนา เข้าใจ ทดลอง เศรษฐกิจพอเพียง ทฤษฎีใหม่ ข้อมูล ขยายผล Internet of Things Big data Precision Agriculture etc. ทดลอง แก้ ปัญหาได้ โจทย์ ทดลอง ทดลอง การลงพื้นที่จริง การทบทวนวรรณกรรม ต้นแบบ มูลนิธิชัยพัฒนา กปร Holistic approach Multidiscipline Proactive Approach Translational research

27 ไม่ควรคิดที่จะทำให้ประเทศร่ำรวยเพราะจะเหนื่อย แต่หากรายได้ปานกลางก็ต้องทำให้ปานกลางทั้งประเทศจริงๆ ไม่ใช่ แค่คนจำนวนหนึ่ง “เรามีพระเจ้าอยู่หัว ที่คิดเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่เศรษฐกิจแบบตะวันตก แสวงหาเท่าที่จำเป็น ต้องประมาณตนเอง (อเนก เหล่าธรรมทัศน์ ๒๕๖๐)

28 ของขวัญจากก้อนดิน RUN อาสาทำดีเพื่อแผ่นดิน บวกกันเป็นดินเดียว ให้พ่อได้สุขใจ ช่วยกันทำความดีให้พ่อได้สุขใจ

29

30


ดาวน์โหลด ppt Roadmap RUN for Thailand 4.0

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google