งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการตรวจ ราชการ นพ. ธีรพล โตพันธานนท์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข 28-12-58.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการตรวจ ราชการ นพ. ธีรพล โตพันธานนท์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข 28-12-58."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการตรวจ ราชการ นพ. ธีรพล โตพันธานนท์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข 28-12-58

2 7 National Priorities กลุ่มวัย NCD (CKD) Road Traffic Accident Service Plan (3 Priority Services in each HR) คบ./ Environmental Health Liver Fluke/ CCA Finance & HRH 2 Area Specific Priority Issue in each Health Region & Province ตัวชี้วัด การยืนยันประสิทธิภาพการบริหาร ปฏิบัติการราชการ กระทรวงสาธารณสุข (Performance Agreement)

3 ประเด็นนโยบาย ผู้บริหาร และหน่วยงาน ที่นำประเด็นไปกำหนดเป็น ตัวชี้วัด 1. LTC บูรณาการ 5 กลุ่มวัยใน ตำบลต้นแบบ กรมอนามัย / การแพทย์ / คร./ สบส./ สุขภาพจิต 2. ลดอุบัติเหตุกรม คร./ การแพทย์ / สป.( สธฉ.) 3. Service Plan ลดป่วย / ตาย / เวลารอคอยในการส่งต่อ สป./ กรมการแพทย์ / สุขภาพจิต / กรมพัฒน์ / กรม อนามัย 4. NCD กรมอนามัย / การแพทย์ / คร. 5. บริหารจัดการ HR Finance/ พัสดุ โปร่งใส ทุกกรม 6. ระบบส่งเสริมสุขภาพอนามัย สิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค คุ้มครองผู้บริโภค ดูแลภาวะฉุกเฉิน กรมอนามัย / คร./ อย./ สบส./ การแพทย์ 7. มะเร็งท่อน้ำดี และ พยาธิใบไม้ ในตับ ( อาจเปลี่ยนเป็นระบบควบคุม โรค ) กรมการแพทย์ / คร. 8. ปัญหาของเขต ( เขตละ 1) เขตสุขภาพ 9. ปัญหาของจังหวัด ( ราย จังหวัด ) จังหวัด

4 การพัฒนา สุขภาพตาม กลุ่มวัยและ ระบบควบคุม โรค การพัฒนา ระบบบริการ การพัฒนา ระบบบริหาร จัดการ การพัฒนา ระบบ สนับสนุนงาน ด้านสุขภาพ การตรวจ ราชการแบบ บูรณาการ กรอบประเด็นการตรวจราชการ ปี 2559 การพัฒนา Service Plan 12 สาขา 1. การบริหาร การเงิน การคลัง 2. ยาและเวชภัณฑ์ 3. การพัฒนา บุคลากร 4. ธรรมภิบาล 1. ระบบการ คุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์ สุขภาพ 2. ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสุขภาพ กรมวิชาการ และ หน่วยงาน ใน สป. การขับเคลื่อนระบบ ตรวจราชการ นโยบายรัฐบาล นโยบาย รมว.สธ. แผนบูรณาการประเทศ แผนบูรณาการกระทรวง 1. การจัดการขยะ มูลฝอยและ สิ่งแวดล้อม 2. มาตรการกระตุ้น เศรษฐกิจ 1.การพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัย 1)กลุ่มสตรีและเด็ก ปฐมวัย 2) กลุ่มเด็กวัยเรียน 3) กลุ่มเด็กวัยรุ่น 4) กลุ่มวัยทำงาน 5)กลุ่มผู้สูงอายุและ คนพิการ 2.ระบบควบคุมโรค

5 ตัวชี้วัด

6

7 รูปแบบการตรวจราชการ รูปแบบที่ 3 ใช้กลไกของ คณะกรรมการ เช่น คกก. ตรวจ กำกับ ติดตาม ระดับเขต หรือ คปสข. หรือ คกก. บริหารเขต สุขภาพ หรือ ทีม เฉพาะกิจ รูปแบบที่ 1 การลงพื้นที่ตรวจราชการและ นิเทศงานร่วมกัน รูปแบบที่ 2 ใช้กลไกการ ตรวจราชการและ นิเทศงาน กำกับ ติดตาม ประเมินผล โดย ผู้ทำหน้าที่ตรวจ ราชการกรม

8 แนวทางการตรวจราชการและ นิเทศงาน 1. วัตถุประสงค์ 2. วิธีการตรวจราชการและการนิเทศ งาน 3. แนวทางการนำเสนอ / สรุปผล การตรวจของผู้นิเทศ

9 1. ตรวจดูการบริหารงานให้เป็นไปตามความ คาดหวังของรัฐบาลตามงาน INSPECTION 1.1 งานตามยุทธศาสตร์กระทรวง นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1.2 งานที่จังหวัดวิเคราะห์เห็นว่ามีปัญหา และต้องการพัฒนา 1.3 งานที่ต้องการแก้ปัญหาแทน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขและพัฒนาให้งาน ยั่งยืน โดยมีประสิทธิผลประสิทธิภาพมากขึ้น 1.4 งานที่คาดว่าจะเกิดปัญหาในอนาคต คาดการณ์ ป้องกันปัญหาอันอาจจะเกิดได้ 1. วัตถุประสงค์

10 2. นิเทศงาน (Supervision) 2.1 แนะนำ Technique, วิชาการแต่ละ เรื่องให้ได้ตามข้อ 1 2.2 เป็นตัวกลางเพื่อหาผู้รู้นอกคณะนิเทศ งานมาช่วยจังหวัด / เขต เพื่อให้งานได้ตาม วัตถุประสงค์ของการตรวจราชการในข้อ 1 2.3 การจัดการเรียนรู้ ของบุคลากรใน เขต / นอกเขต เพื่อพัฒนาเป็น Knowledge Organization 2.4 ขวัญกำลังใจและ Empowerment บุคลากรเพื่อ Monitor งานและเสนอแก้ไขเชิง บริหาร 1. วัตถุประสงค์

11 รอบที่ 1 มกราคม ถึง มีนาคม 2559 เป็นการตรวจเพื่อ....... 1. ดูการบริหารจัดการในระดับจังหวัด  Technical Management  Implementation  นำตัวอย่างที่ดีๆ มาถ่ายทอด  เจาะลึกปัญหา / สาเหตุจริง 2. วิธีการตรวจราชการ และ นิเทศงาน 2. ดู คปสอ./ รพ. สต. ในการรับช่วง / วาง แผนการบริหารงานระดับอำเภอมากกว่า 1 แห่ง ผลลัพธ์ในช่วงระยะสั้นๆ 3 เดือน (small success) 3. วิเคราะห์ข้อมูลความเป็นไปได้ / ความถูกต้อง ของข้อมูลที่ได้รับก่อนการตรวจราชการ เปรียบเทียบข้อมูลกับหน่วยบริการระดับเดียวกัน

12 รอบที่ 2 มิถุนายน ถึง กรกฎาคม 2559 เป็นการตรวจเพื่อดูความก้าวหน้าของ งาน และขบวนการแก้ปัญหา การแก้ไขปัญหา ตามข้อเสนอแนะที่ให้ไว้จากการตรวจฯ รอบที่ 1 และปัญหาอุปสรรค / ข้อเสนอแนะที่พบจากการ ตรวจราชการรอบที่ 2 และผลลัพธ์ระยะสั้น ตาม small success รอบ 3, 6, 9 และ 12 เดือน 2. วิธีการตรวจราชการ และ นิเทศงาน

13 การตรวจราชการรอบพิเศษ จะกำหนดเสริมใน บางจังหวัดหรือบางอำเภอ โดยมีวัตถุประสงค์ หลักในการติดตามกรณีใด กรณีหนึ่งหรือหลาย กรณีรวมกันดังนี้ 1. มีปัญหาไม่ก้าวหน้าของงานที่เป็นนโยบาย 2. มีปัญหาในเชิงการบริหารที่คาดว่าจะมี ปัญหาในอนาคตและเพื่อการป้องกันปัญหาที่จะ เกิดในอนาคต 3. ปรากฏชื่อเสียงทั้งด้านดีหรือไม่ดีต่อ สาธารณชนอย่างกว้างขวาง 4. เป็นตัวอย่างในการพัฒนาเพื่อให้เป็น ต้นแบบในระดับเขตหรือระดับชาติต่อไป 5. จังหวัดร้องขอ การตรวจราชการรอบพิเศษ

14 1. ผลการตรวจฯ ในเชิงปริมาณ ให้นำเสนอ  ความครอบคลุม ข้อมูลครบถ้วน ทันเวลา  นำเสนอวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบให้เห็นปัญหา/โอกาสพัฒนา เช่น ค่าเฉลี่ย ระดับประเทศ/จังหวัดภายในเขต หรือแผนพัฒนาสุขภาพที่เขต/จังหวัดกำหนด 2) ผลการตรวจฯ ในเชิงคุณภาพ  ชี้ประเด็นที่ชัดเจน / อธิบายให้สามารถนำไปปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานได้ 3) ปัญหาอุปสรรคที่ตรวจพบนำเสนอ ดังนี้  ในเชิงวิชาการ ให้นำเสนอตามหลักวิชาการที่ควรจะเป็นและ ถูกต้องเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่และสอดคล้องกับแผน บริการสุขภาพของเขต  ในเชิงบริหารจัดการ ให้นำเรียนประธานเพื่อพิจารณาสั่งการ/ ข้อเสนอแนะ 3. แนวทางการนำเสนอ สรุปผล การตรวจของผู้นิเทศ

15


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการตรวจ ราชการ นพ. ธีรพล โตพันธานนท์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข 28-12-58.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google