งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบปกติ ประจำปีการศึกษา 2/2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบปกติ ประจำปีการศึกษา 2/2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบปกติ ประจำปีการศึกษา 2/2559
โครงการฝึกวิชาชีพนอกสถานศึกษา ระบบปกติ ประจำปีการศึกษา 2/2559 วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ KOBATECH(THAILAND) CO,.LTD

2 อาจารย์ประจำแผนกวิชาช่าง เครื่องมือวัดฯ และเมคคาทรอนิกส์
เสนอ อาจารย์ ไมตรี ชินศิริวัฒนา อาจารย์ ไพโรจน์ ครองตน อาจารย์ นพพร น้อยวัฒนะ อาจารย์ บรรจง ศักดิ์วณิชล อาจารย์ประจำแผนกวิชาช่าง เครื่องมือวัดฯ และเมคคาทรอนิกส์

3 แผนก เครื่องมือวัดฯ และเมคคาทรอนิกส์ สาขา เทคโนโลยีการวัดและควบคุม
จัดทำโดย นาย ณัฐวุฒิ พิมธิค้อ ชว 5/ เลขที่ 10 แผนก เครื่องมือวัดฯ และเมคคาทรอนิกส์ สาขา เทคโนโลยีการวัดและควบคุม

4 ผู้ควบคุมการฝึกสอน นาย ศราวุฒิ พวงจำปา แผนก Calibration
นาย ศราวุฒิ พวงจำปา แผนก Calibration นางสาว ภัทรวดี ต๋าตา แผนก Calibration

5 KOBATECH (THAILAND) Co.,Ltd

6 KOBATECH (THAILAND) Co.,Ltd
Manufacture of Fuel Injection Pump Parts, Injector Parts and Common Rail Parts ประกอบกิจการผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะ ของปั๊มเชื้อเพลิงแรงดันสูง และชิ้นส่วนหัวฉีดเชื้อเพลิง)

7 (Head office) Kouta,Japan
KOBATECH GROUP..... Name Kobatech Japan Co.,Ltd Establishment March.1951 Capital 48 Million Yen President Mr.Kobayashi Haruhiro Factories 3 Factories Line of Business Manufacture of Fuel Injection Part, Pump Part Injector Part and Common rail Part and small decelerator of the in house product. Name Kobatech Thailand Co.,Ltd Establishment August.2002 Capital Million Baht President Mr.Kondo Mazaki Factories Factories Line of Business Manufacture of Fuel Injection Part, Pump Part Injector Part and Common rail Part of the in house product. THAILAND Banbung Kobatech CO.,LTD. Fukuroi,Japan Pinthong Japan Kobatech CO.,LTD. Miyakonojiou,Japan Kobatech CO.,LTD. (Head office) Kouta,Japan

8 KOBATECH (THAILAND) CO.,LTD.
Establishment of tie factory start 2003 September Capital ,000,000 baht. Customer SDM, KSTh , DMVN Number of employees Persons Male Persons Female Persons System ISO/TS 16949:2009, ISO 9001:2008, ISO 14001: Update 27 August 2014 Head office 118 Moo.1 T.Nongbondeang A.Banbung Chonburi

9 Production Office & Quality Assurance ,Calibration
Packing Office : PC แผนที่โรงงาน Production Office & Quality Assurance ,Calibration CNC : Process 1 & 2 BKD REWORK

10 President & Manager PRODUCTION MR.MASAKI KONDO PRESIDENT
ADMINISTRATION PRODUCTION PRODUCTION SUPPORT MR.EKTHANAT KAEWRA GENERAL MANAGER MR.SOMROD AUNKAEW GENERAL MANAGER MR.KATSUYA MATSUMURA MANAGER

11 หัวหน้าแผนกทุกระดับในบริษัท

12 หัวหน้าระดับ Assistance Manager
นาย สุรศักดิ์ รัศมี แผนก Miyano นาง จิรพรรณ ศรีโชติ Process 2 นาย ทรงวุฒิ แผนก QA นาย อนันต์ชัย ดาศรี แผนก SR หัวหน้าระดับ Supervisor แผนก Cincom นาย ไพฑูรย์ นางสาว ปัฐม์รุณีย์ น้อยพิทักษ์ แผนก BKD แผนก Miyano

13 หัวหน้าระดับ Leader นางสาว เกษร ทับทิม แผนกHasegawa
นางสาว อนันต์ พลเสน แผนก BKD นางสาว จิราพร อัครภักดี แผนก Bench นาย ยุทธนา อุ่นพิมพ์ แผนก QA นาย ทนง เหล็กผา แผนก Miyano นางสาว รัชชนก บุญเรือง แผนก QA นางสาว แผนก PC

14 หัวหน้าระดับ Sub-Leader
นางสาว ปิยวรรณ เวชบุญ แผนก Miyano นาย เกรียงไกร แอบสาว แผนก Miyano นาย พิเชษฐ์ แผนก Cincom นางสาว ชลณีย์ ใสฟอง แผนก SB นางสาว ลลิตา วิถุนัด แผนก Miyano นาย วรรณลภ อุบลเผื่อน แผนก Cincom นางสาว เรณู พานทอง แผนกHasegawa นาย วิทยา โพธิ์อินทร์ แผนก SR นาย ศักดินนท์ แคนลำ แผนก SR นางสาว สาวิณีย์ ไชยอุด แผนก Hasegawa นางสาว พัชรรินทร์ บุญกว้าง แผนก SR นางสาว วิภาดา ภูพวก แผนก Hasegawa

15 หัวหน้าระดับ Sub-Leader
นาย บันเทิง เพ็งโม แผนก Bench นางสาว เพชรรุ่ง ทรัพย์เจริญพร แผนก BKD นางสาว ขนิษฐา เกียมขุนทด แผนก BKD นางสาว ณิชาภัทร โตยอด แผนก EDM นางสาว นาตยา ฉายสุวรรณ์ แผนก BKD นางสาว รัตนา นิลทวงษ์ แผนก QA แผนก Calibration นาย ศราวุฒิ พวงจำปา นางสาว ภัทรวดี ต๋าตา

16 กิจกรรมพัฒนาบุคคลากรในองค์กร
กิจกรรมที่สงเสริมเรื่องการลดค่าใช้จ่ายในการผลิต หรือ ลดต้นทุน ลดงานเสียในองค์กร โดยทีมที่ชนะจากบริษัท KOBATECH จะได้ไปแข่งขันที่บริษัท Denso กิจกรรม QCC กิจกรรมที่ให้บุคลากรในองค์กร เขียนถึงปัญหาในการทำงาน หรือปัญหาในสถานที่ทำงานที่จะก่อให้เกิดผลเสีย หรือหาแนวทางการแก้ปัญหา เพื่อลดอุบัติเหตุ หรือลดค่าใช้จ่าย กิจกรรม Kaizen ทางประเทศไทยจะส่งบุคลากรตามแผนกที่สมควร ไปหาประสบการณ์ที่บริษัทแม่ที่ญี่ปุ่น มีทั้งหมด 3 โรงได้แก่ ที่ มิยาโคโน๊ะอุโจ,โคตะ และฟุกุโร่ย โดยจะส่งไปครั้งละ 6 เดือนเพื่อกลับมาพัฒนาการทำงานที่ไทย กิจกรรมแลกเปลี่ยนบุคลากรในการทำงานกับบริษัทแม่ที่ญี่ปุ่น

17 แผนผังแผนกย่อยของแต่ละหน่วยงานในบริษัท
MR.MASAKI KONDO PRESIDENT MR.SHIGEYUKI YAMADA FACTORY MANAGER INTERPRETER SAFETY FACILITY IT PRODUCTION PRODUCTION SUPPORT ADMINISTRATION PRODUCTION PROCESS 1 PRODUCTION PROCESS 2 QUALITY CONTROL PRODUCTION CONTROL MAINTENANCE PER & GA ACCOUNTING/ BOI P1 L1: MIYANO P2 L1: HASEGAWA BKD REWORK PC MAINTENANCE P1 L2: CINCOM /SCHUTTE P2 L2: BENCH/ CENTERLESS Q A PU TOOL DS P1 L3: SA/CAM P2 L3: HOLE DRILL P1 L4: SB/RNC P1 L5: SR

18 Calibration

19 การทำงานของแผนก Calibration
เปลี่ยนแบตเตอรี่ ให้กับเครื่องมือแบบดิจิตอล ซ่อมแซมตรวจสอบ เครื่องมือตามใบคำร้องแจ้งปัญหา แจ้งซ่อมเครื่องมือวัด การบำรุงรักษาเครื่องมือวัด ดูแลการสอบเทียบเครื่องมือวัด ภายในบริษัท ดูแลการสอบเทียบเครื่องมือวัด ภายนอกจากบริษัทผู้รับผิดชอบ สอบเทียบเครื่องมือวัด ดูแลใบบันทึกผลการตรวจสอบเครื่องมือวัดก่อนปฏิบัติงาน ลงพื้นที่หน้างานเช็ค Master ให้กับแผนกที่ไม่สามารถ Calibrate เองได้ ตรวจเช็คอุปกรณ์ Master ก่อนปฏิบัติงาน เก็บสถิติการสั่งซื้อเครื่องมือแต่ละปี จัดทำ Plan Calibrate ประจำเดือน สรุปผลการ Calibrate เพื่อประเมินรายจ่ายสรุปยอด จัดทำเอกสารต้นแบบของชิ้นงานเพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิง จัดทำข้อมูลเอกสาร Dataเครื่องมือวัด

20 เครื่องมือหลักที่ใช้วัดในการผลิต ของ KOBATECH
1. CALIPER 2. Micrometer 3. Profile 4. Blade Micrometer 5. Dial Gauge 6. Thread Ring Gauge 7. Thread Plug Gauge 8. Plug Gauge 9. Pin Gauge

21 ประเภทเครื่องมือที่ใช้ในโรงงาน

22 เครื่องมือวัด ชนิด Scale และ Manual
•ได้แก่เครื่องมือจำพวก Gauge ต่างๆและ Micrometer บางประเภทที่มีแบ่งแยกตามประเภทเครื่องมือและชิ้นงาน ให้เหมาะสมกับหน้างาน เช่น Pin Gauge Thread Ring Gauge Plug Gauge Thread Plug Gauge Ring Gauge

23 เครื่องมือวัด ชนิด Digital และ Automatic
• เป็นเครื่องที่สามารถนำชิ้นงานมาวัดได้เฉพาะในห้อง QA (Quality Assurance ) เท่านั้น เพราะเป็นเครื่องมือที่ต้องเก็บรักษาจากอุณหภูมิและการกัดกร่อนของละอองน้ำมัน เช่น Caliper Contour Roundtest IM

24 หน้าที่ของเครื่องมือ...
Indicating Micrometer ใช้วัดความหนาของชิ้นงาน รวมไปถึงความกว้างของชิ้นงานโดยกำการตั้งค่า ที่ต้องการและ กดที่ปุ่มด้านข้าง นำชิ้นงานคั่นกลางและปล่อยปุ่มหากหน้าสัมผัสบีบ ชิ้นงานและขึ้นค่า 0 แสดงว่ามีค่าที่ตรงกับที่ตั้งไว้ Dial Gauge ใช้วัดความสูงของชิ้นงานโดยวัดการนำชิ้นงานวางบนฐานและนำเข็มวาง ขอบบนของชิ้นงานและอ่านค่าบนหน้าจอ Caliper สามารถใช้วัดชิ้นงานด้านความยาวและความสูง รวมถึงขนาด Øด้านในของชิ้นงาน

25 Blade Micrometer Micrometer Profile
ใช้วัดชิ้นงานขนาด 1-25 mm. สามารถวัดความยาว ของชิ้นงาน และ Øนอกของชิ้นได้ Micrometer ใช้วัดชิ้นงานขนาด 1-25 mm. สามารถวัดความยาว ของชิ้นงาน และ Øนอกของชิ้นได้ Profile สามารถวัดค่าชิ้นงานได้ทั้ง ความยาว ความกว้างและ องศาของชิ้นงาน รวมไปถึงสามารถ วัดค่าของเหลี่ยมงานได้

26 Pin Gauge Thread Plug Gauge Thread Ring Gauge
ใช้วัดเกลียวนอกของชิ้นงานตาม Ø ของชิ้นงาน จะมีระบุไว้ที่ตัวอุปกรณ์ Pin Gauge ใช้วัด Ø ด้านในของชิ้นงาน ประเภทที่ไม่มีเกลียว Thread Plug Gauge ใช้วัดเกลียวในของชิ้นงานตาม Ø ของชิ้นงาน จะมีระบุไว้ที่ตัวอุปกรณ์

27 Surfcom เป็นเครื่องมือวัดที่ใช้สำหรับการลากความราบเรียบผิวของชิ้นงาน Roundtest เครื่องมือวัดที่สามารถวัดชิ้นงานได้แบบ 3 มิติ โดยการวัดอัตโนมัติตามแบบที่ เขียนโปรแกรมไว้ IM มีลักษณะที่คล้ายกับเครื่อง Roundtest แต่สามารถวัดได้เลยจากการถ่ายรูป ตามการเขียนโปรแกรมที่กำหนดค่าไว้ เหมาะกับงานที่มีจำนวนเยอะ และมีขนาดที่เล็ก

28 อุปกรณ์อื่นๆที่ใช้ภายในห้อง Calibration
ลูกตุ้มเหล็ก อุปกรณ์ที่ใช้เป็น Master 1 ชุดประกอบไปด้วย 3 ขนาด ได้แก่ 1กิโลกรัม 2กิโลกรัม และ 5 กิโลกรัมใช้สอบเทียบเครื่องชั่ง และอุปกรณ์ประเภทวัดน้ำหนักได้ Block Gauge เป็นอุปกรณ์ Master ที่มีลักษณะเป็นทรงสี่เหลี่ยมมีขนาดต่างกัน ใช้หน่วยมิลลิเมตรเพื่อใช้วัดความหนา ความกว้าง ใช้สอบเทียบอุปกรณ์ เครื่องมือวัดทั่วไป

29 ฐานตั้งเครื่องมือวัด
ทางห้อง Calibration จะต้องรับผิดชอบในส่วนของการจัดทำหรือสั่งซื้อฐาน ของเครื่องมือวัดที่จะต้องใช้ให้เหมาะกับหน้างาน เพื่อให้สะดวกต่อการใช้งานเครื่องมือวัด ฐานตั้งชิ้นงาน ฐานตั้งชิ้นงาน หรือ V-Block ใช้สำหรับวางชิ้นงานในการวัดค่างาน สามารถใช้ได้กับ งานทุกชนิดจากแผนก CNC เพื่อใช้วัดค่าต่างๆ แทนการใช้มือจับให้ได้ค่าที่ตรงกับความ เป็นจริงที่สุด

30 การทำความสะอาดกล้อง Microscope
การถอดกล้องที่ใช้ในหน้างานที่อาจจะมีคราบสกปรกจากละออง น้ำมันในหน้างาน เพื่อเช็ดและทำความสะอาด ตัวของกล้อง และเลนส์ โดยการแกะเปลือกหุ้มด้านนอกออกเพื่อทำความสะอาดเลนส์โดยมี เลนส์ทั้งหมด 3 ชั้น และรวมถึงชุดเลนส์สะท้อนอีก 2 ชุด ชุดกลไก ซูมอีก 1 ชุด รวมถึงการทำความสะอาด เลนส์ตาอีก 1 ชุด ในการทำความสะอาด จะใช้เป็นแอลกอฮอล 95% และผ้าขาวบาง กระดาษทิชชู่ ในการล้างกล้อง 1 ชุดให้เสร็จสมบูรณ์พร้อมใช้หน้างาน จะใช้เวลาเฉลี่ยอยู่ที่ 3 ชม/ 1ชุดหรือเท่ากับว่า 1 วันล้างได้เพียง 2 ชุด

31 การเช็คเครื่องมือก่อนเริ่มงานตอนเช้า
ในหน้างานการผลิต แผนก Calibration จะมีใบบันทึกการตรวจสอบเครื่องมือและเครื่องจักรก่อนการทำงานเพื่อยืนยันว่า อุปกรณ์และเครื่องจักรไม่มีความผิดปกติป้องกันการผลิตงานเสีย ในส่วนที่ไม่สามารถ Calibrate เองได้จะอยู่ในส่วนของแผนก BKD ซึ่งจะใช้เป็น Pin Gauge เป็นแผนกที่มีการตรวจสอบงานหรือเก็บรายละเอียดของ ชิ้นงานให้สมบูรณ์ป้องกันการส่งงานเสียถึงมือลูกค้า โดยแผนก Calibration จะต้องนำอุปกรณ์ Master ไปสอบเทียบตัวอุปกรณ์ในทุกเช้าก่อนมีการทำงาน ใน Part ของ Stopper 6030 และ 6040หากตัวอุปกรณ์ Pin Gauge มีค่าต่ำกว่าสเปคของงาน จะแจ้งไปที่ หัวหน้างานเพื่อยื่นเอกสารขอทำการเบิก Pin Gauge ใหม่ในการทำงาน โดยค่าที่ยอมรับได้ของการทำงานจะอยู่ -3 µm หากต่ำกว่านี้จะถือตัวอุปกรณ์ไม่ สามารถใช้งานได้

32 การวางแผนและการ Calibrate จากภายนอก.....
ทาง KOBATECH จะส่งเครื่องมือที่ไม่สามารถ Calibrate จากภายในแผนก เพื่อนำไป Calibrate จากบริษัทภายนอก เครื่องมือประเภทที่นำส่ง Calibrate บริษัทภายนอกได้แก่ Caliper , Micrometer และเครื่องมือวัดแบบ Automatic เพื่อทำการคอนเฟิร์มเครื่องมือวัด และเก็บข้อมูลใบ Certification ทำการ Audit วัดผลเพื่อให้ได้ตามมาตรฐาน ISO การผลิตรถยนต์ เพื่อให้ได้รับความเชื่อถือจากลูกค้าว่างานทุกชิ้นที่ถูกผลิตและส่งขายก่อนถึงมือลูกค้า จะต้องได้คุณภาพและตรงตามมาตรฐานแบบของลูกค้า บริษัทที่ KOBATECH ว่าจ้างให้ Calibrate คือ THC หรือ Thai heart Calibrate และ Hollywood โดยทางแผนกจะสามารถว่าจ้างให้บริษัทภายนอกเข้ามาสอบเทียบได้จะต้องทำการวางแผนเพื่อให้ เครื่องมือในบริษัทครบตามกำหนดการสอบเทียบ โดยการจัดทำแผนสอบเทียบ ปีต่อปีซึ่งรวมไปถึงการซ่อมบำรุงเช็คสภาพหากเครื่องมือมีปัญหาจากการใช้งานนานๆ ทดสอบในด้าน ความแม่นยำ ความเที่ยงตรง และความเป็นเชิงเส้นของตัวอุปกรณ์ ในการสอบเทียบ ทางบริษัทผู้ดำเนินการสอบเทียบ เมื่อเสร็จ เรียบจะทำการติดสติ๊กเกอร์ พร้อมการเขียนวันครบรอบการสอบเทียบในครั้งถัดไปไว้ให้ด้วย

33 สิ่งที่นอกเหนือจากเครื่องมือวัดหน้างานปกติ
แผนก Calibration จะต้องรับผิดชอบอุปกรณ์ทั้งหมดในโรงงานที่จะสามารถวัดค่าของชิ้นงาน ได้รวมไปถึงเครื่องมืออุปกรณ์ อย่างอื่นๆ เช่นการ Calibrate ตาชั่งชิ้นงานโดยการใช้ อุปกรณ์ Master ทำการสอบเทียบเครื่องชั่ง และทำการ Adjust Zero ให้กับเครื่องชั่ง ตรวจสอบหน้าจอแสดงผลว่า หากวางลูกเหล็กน้ำหนัก 1 กิโลกรัม ที่หน้าจอแสดงผล หากขึ้นน้ำหนักตรงตามอุปกรณ์ จะเข้าสู่กระบวนการ สอบเทียบน้ำหนักชิ้นงานโดยกำหนดให้ ชิ้นงาน 10 ชิ้นจะมีค่าน้ำหนักอยู่ที่เท่าไหร่ และ 100 ชิ้นจะมีน้ำหนักที่ เท่าไหร่ โดยเครื่องชั่ง 1 เครื่องจะสามารถใช้วัดน้ำหนักแปลงให้เป็นจำนวนชิ้นได้เพียง 1 ประเภทชิ้นงานเพื่อ ให้ได้ตรงที่สุดป้องกันการผิดพลาดการคลาดเคลื่อนของการนับจำนวนชิ้นงานที่จะส่งให้ลูกค้าก่อนเข้าสู่ กระบวนการแพ็คกิ้งและการส่งเคลือบสี

34 การซ่อมและเบิกเครื่องมือวัด.......
รับผิดเครื่องมือวัดชิ้นงาน ในโรงงานทุกอุปกรณ์ และ สแตนตั้งเครื่องมือวัดรวมถึง อุปกรณ์ส่วนประกอบต่างๆ ของเครื่องมือวัด โดยการให้พนักงานหรือ หัวหน้าประจำแผนก เขียนใบคำร้องยื่นที่ห้อง Calibration ประสงค์ที่จะซ่อม หรือเบิกอุปกรณ์ใหม่ หากเบิกใหม่ต้อง เขียนใบเพิ่ม เพราะเหตุผลอะไรหรือใช้สำหรับอะไรในการเบิกอุปกรณ์ใหม่ ในส่วนอุปกรณ์ที่ไม่สามารถซ่อมได้จะถูกเก็บและติดสติ๊กเกอร์สีแดงเพื่อระบุให้เป็น อุปกรณ์ที่ไม่สามารถใช้งานได้ อุปกรณ์ตัวนั้นๆ จะถูกส่งเรื่องขอทำลายทรัพย์สินบริษัทใน กระบวนการต่อไปของบริษัท โดยจะมีการทิ้งได้ต่อเมื่อมีแผนกที่เกี่ยวข้องเข้ามารับทราบใน การทำลายทรัพย์สินของบริษัท

35 สิ่งที่ได้จากการฝึกงาน.
เรียนรู้การใช้ชีวิตในโรงงานหรือ ระบบการทำงานของบริษัท การวางแผน การประสานงานของแต่ละแผนกและทำงานเป็นทีมเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกันคือการ ผลิตชิ้นงานที่ได้คุณภาพ ตรงตามมาตรฐานของลูกค้า พร้อมๆกับการทำงานไร้อุบัติเหตุ ในด้านส่วนงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา จะอยู่ในเรื่องของการ Calibrate โปรแกรมด้าน การเขียนแบบ Auto CAD


ดาวน์โหลด ppt ระบบปกติ ประจำปีการศึกษา 2/2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google