ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPorntip Prateung ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การให้สมาชิก กบข.โดยสมัครใจ กลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
ตาม พรบ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 สำนักงานคลังจังหวัดชุมพร
2
ต้องรู้ และเข้าใจ ในเรื่องอะไรบ้าง
3
1 2 3 4 5
5
Front 1 ผู้รับบริการ ผู้มีสิทธิ
6
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
การกลับไปใช้สิทธิ ในบำเหน็จบำนาญตาม พรบ.บำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ พ.ศ. 2494 กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
7
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
ในบำเหน็จบำนาญตาม พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ. …. กฎหมาย Undo
8
เงินบำนาญ คือเงินที่รัฐจ่ายให้แก่สมาชิกเป็นรายเดือนเมื่อพ้นสมาชิกภาพตามสูตรที่กำหนด โดยสมาชิกที่มีสิทธิเลือกรับบำนาญต้องเป็นสมาชิกที่ออกจากราชการและมีเวลาราชการยี่สิบห้าปีบริบูรณ์ขึ้นไป หรือออกจากราชการด้วยเหตุสูงอายุ เหตุทุพพลภาพ เหตุทดแทน และมีเวลาราชการสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป โดยรับจากกระทรวงการคลัง เงินประเดิม คือ เงินที่รัฐจ่ายเพิ่มให้แก่สมาชิกซึ่งเป็นข้าราชการอยู่ก่อนวันที่ บทบัญญัติใช้บังคับและเลือกรับบำนาญในอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด โดยคำนวณระยะเวลาจากวันที่เริ่มเข้ารับราชการจนถึงวันที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนและนำส่งเข้ากองทุน
9
เงินสมทบ คือเงินที่รัฐบาลจ่ายสมทบเข้ากองทุนให้สมาชิกที่สะสมเงินเข้ากองทุนเป็นประจำทุกเดือน ซึ่งขณะนี้อยู่ในอัตราร้อยละ 3 ของเงินเดือนสมาชิก ทั้งนี้หากพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ ฉบับแก้ไขมีผลบังคับใช้และสมาชิกต้องการสะสมเงินเข้ากองทุนเพิ่มขึ้น แต่ทางรัฐบาลจะยังคงสมทบเงินให้ในอัตราเท่าเดิม เงินชดเชย คือเงินที่รัฐบาลนำส่งเข้ากองทุนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อจ่ายเพิ่มให้แก่สมาชิกเพื่อชดเชยสูตรบำนาญที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งขณะนี้อยู่ในอัตราร้อยละ 2 ของเงินเดือน ซึ่งสมาชิกจะมีสิทธิได้รับเงินชดเชยต่อเมื่อมีสิทธิรับและเลือกรับบำนาญเท่านั้น
10
สูตรการคำนวณเงินประเภทต่าง ๆ
เงินบำเหน็จ คือ เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ เงินบำนาญสูตร 2494 คือ เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ 50 เงินบำนาญสูตร 2539 คือ เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x เวลาราชการ ( ทั้งนี้ไม่เกินร้อยละ 70 ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย )
11
หมายเหตุ การนับเวลาราชการเพื่อกำหนดสิทธิในบำเหน็จบำนาญนั้น
จะนับจากวันบรรจุจนถึงวันที่ออกจากราชการ โดยรวมวันทวีคูณด้วย การนับให้เกิดสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ ถ้ามีเศษของปีถึง 6 เดือน ให้นับเป็นหนึ่งปี เช่น เวลาราชการ 9 ปี 6 เดือน ถือว่าเกิดสิทธิในการรับบำเหน็จ หรือ 24 ปี 6 เดือน ถือว่าเกิดสิทธิในการรับบำนาญ แต่การคำนวณเงินบำเหน็จบำนาญ ให้ใช้เวลาราชการจริง เช่น เวลาราชการ 24 ปี 6 เดือน วิธีคำนวณ = / 12 เท่ากับ ปี
13
กฎหมาย Undo มีผลใช้บังคับ 13 ธันวาคม 2557
13 ธันวาคม 2557 (เริ่มสมัครได้แต่ 15 ธันวาคม 2557)
14
สาระสำคัญของกฎหมาย Undo
15
ที่เป็นหรือเคยเป็นสมาชิก กบข.โดยสมัครใจ
ให้สิทธิ Undo กับ ข้าราชการ ผู้รับบำนาญ ผู้รับเบี้ยหวัด ที่เป็นหรือเคยเป็นสมาชิก กบข.โดยสมัครใจ (มาตรา 36 พรบ.กบข.)
16
1 คน มีได้เพียง 1 สถานะ เท่านั้น
การใช้สิทธิ Undo Note 1 คน มีได้เพียง 1 สถานะ เท่านั้น ข้าราชการ Undo ผู้รับบำนาญ Undo ผู้รับเบี้ยหวัด Undo
17
เมื่อได้ยื่นใช้สิทธิ Undo แล้ว จะขอยกเลิกไม่ได้ !
Note เมื่อได้ยื่นใช้สิทธิ Undo แล้ว จะขอยกเลิกไม่ได้ !
18
ที่เป็นสมาชิกกองทุน ตามมาตรา 36 พรบ. กบข.
ข้าราชการ ที่เป็นสมาชิกกองทุน ตามมาตรา 36 พรบ. กบข. ข้าราชการ หมายถึง ………………… 1 ข้าชการพลเรือน 2 ข้าราชการฝ่ายตุลาการ 3 ข้าราชการฝ่ายอัยการ 4 ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย 5 ข้าราชการครู 6 ข้าราชการรัฐสภาสามัญ 7 ข้าราชการตำรวจ 8 ข้าราชการทหาร 9 ข้าราชการศาลรัฐธรรมนูญ 10 ข้าราชการที่มีกฎหมายบัญญัติให้เป็นข้าราชการตาม พรบ. กบข.
19
ข้าราชการ 1 ให้ใช้สิทธิเลือก ถัดจากวันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับ
1 ให้ใช้สิทธิเลือก ถัดจากวันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับ ถึงวันที่ 30 มิถุนายน (ประมาณ 7 เดือน) 2 ได้รับเงินสะสม และดอกผล คืนจาก กบข. ตั้งแต่วันที่หมดสมาชิกภาพ กบข. (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2558 เป็นต้นไป) 3 ไม่มีสิทธิได้รับเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสบทบ และดอกผลของเงินดังกล่าว โดยรัฐจะให้ กบข. นำเงินนี้ไปใส่ในบัญชีเงินสำรอง เพื่อใช้ในการ บริหารจัดการภาระบำนาญต่อไป
20
4 สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับตั้งแต่วันถัดจาก
วันที่ 30 กันยายน 2558 คือวันที่ 1 ตุลาคม 2558 เว้นแต่ จะขอลาออก หรือถูกสั่งให้ออก ถัดจาก 30 มิถุนายน ถึง 30 กันยายน 2558 สมาชิกภาพ สิ้นสุดลงตั้งแต่วันถัดจากวันขอลาออก หรือถูกสั่ง ให้ออก แล้วแต่กรณี 5 ข้าราชการที่มีเวลาราชการเหลืออยู่ไม่ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2558 เนื่องจากจะออกจากราชการ ไม่ว่ากรณีใด (ขอลาออก หรือถูกสั่งให้ออก)ให้ใช้ สิทธิเลือกได้ไม่เกินวันที่ก่อนออกจากราชการนั้น แล้วแต่กรณี (วันที่ขอลาออก หรือวันที่ถูกสั่งให้ออก) โดยสมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับตั้งแต่วันออกจาก ราชการ แล้วแต่กรณี
21
6 เมื่อออกจากราชการไม่ว่ากรณีใด และมีสิทธิรับ
บำนาญ จะได้รับบำนาญตาม พรบ. บำเหน็จบำนาญ 2494 จนถึงวันที่เสียชีวิต 7 หากแสดงความประสงค์ไว้แล้ว และถึงแก่ความตาย ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม หรือภายในวันที่ที่ จะออกจากราชการไม่ว่ากรณีใด (วันที่ขอลาออก หรือวันที่ถูกสั่งให้ออก) แล้วแต่กรณี ให้ถือว่าการแสดงความประสงค์นั้นเป็นอันสิ้นผล
22
วันที่กฎหมาย ใช้บังคับ
วันที่ขอออก หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการ 30 กันยายน 2558 30 มิย. 58 เลือก Undo แจ้ง กบข.โอนเงินในบัญชีเงินรายบุคคลเข้าบัญชี เงินสำรอง และจ่ายเงินสะสม+ดอกผลให้ผู้มีสิทธิ เลือก Undo ได้รับบำนาญสูตรเดิมตั้งแต่วันที่ออกจากราชการ วันที่ขอออก หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการ งดหักเงินสะสม และงดเบิกเงินชดเชย+สบทบ ออกจากราชการ ได้รับบำนาญ สูตรเดิม วันที่เลือก Undo วันที่เลือก Undo กฎหมายบำเหน็จบำนาญ สิ้นผล สิ้นผล วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. สิ้นสุดลง สมาชิกภาพ กบข. สิ้นสุดลง
23
ภายหลังวันที่ 30 มิถุนายน 2558 2 ให้สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับถัดจากวันที่
ข้าราชการที่ไม่อยู่ ก่อนหรือในวันที่กฎหมายนี้ใช้บังคับ และกลับเข้ารับราชการ ภายหลังวันที่ 30 มิถุนายน 2558 1. ถูกสั่งให้ออกจากราชการเพื่อไปรับราชการตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร 2. ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้ไปปฏิบัติงานใดๆตาม พรฎ.ว่าด้วยการกำหนด หลักเกณฑ์การสั่งให้ข้าราชการข้าราชการไปทำการซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้น เหมือนเต็มเวลาราชการ 3. ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน 4. อยู่ระหว่างร้องทุกข์หรืออุทธรณ์คำสั่งให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากราชการ 1 ให้แสดงความประสงค์ ภายใน 60 วันนับตั้งแต่วันกลับเข้ารับราชการ 2 ให้สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับถัดจากวันที่ แสดงความประสงค์
24
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
ตุลาการศาลปกครองซึ่งเคยเป็นข้าราชการที่เข้ารับราชการ ก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 และลาออกจากราชการเพื่อไปเป็นตุลาการศาลปกครอง มาตรา 35 พรบ.กบข. 2. ข้าราชการ ซึ่งเคยเป็นข้าราชการที่เข้ารับราชการก่อนวันที 27 มีนาคม 2540 ซึ่งลาออกจากราชการและกลับเข้า รับราชการตั้งแต่ หมวด 3 พรบ. กบข.ใช้บังคับ มาตรา 35 พรบ.กบข. 3. ข้าราชการส่วนท้องถิ่น ซึ่งเคยเป็นข้าราชการ ที่เข้ารับราชการก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 และมีกฎหมาย หรือมติคณะรัฐมนตรี กำหนดให้มีการถ่ายโอนภารกิจไปยัง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา 70/1 พรบ.กบข. 4. พนักงานมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ซึ่งเคยเป็น ข้าราชการที่เข้ารับราชการก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 และมี กฎหมายกำหนดให้มหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ เป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐ มาตรา 70/6 พรบ.กบข.
25
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
โดยสรุป ข้าราชการที่เข้ารับราชการ ก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 และปัจจุบัน(วันที่ กฎหมาย Undo มีผลใช้บังคับ) เป็นสมาชิก กบข.ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ได้สิทธิ Undo ทุกคน
26
การนับเวลาราชการต่อเนื่อง ตามม.38 แห่งพ.ร.บ.กองทุนบำเหน็จบำนาญฯ 2539
การนับเวลาราชการต่อเนื่อง ตามม แห่งพ.ร.บ.กองทุนบำเหน็จบำนาญฯ 2539 ข้าราชการออกราชการ (ยกเว้นไล่ออก,ปลดออก) และกลับเข้ารับราชการตั้งแต่ 27 มีนาคม 2540 มีสิทธินับเวลาราชการต่อเนื่อง 1. รับบำเหน็จไปแล้ว คืนบำเหน็จพร้อมดอกเบี้ย 2. รับบำนาญไปแล้ว คืนเงินประเดิม+ชดเชย+ผลประโยชน์ และงดจ่ายบำนาญตลอดเวลาที่กลับเข้าราชการใหม่ 3. กรณีรับบำนาญต่อ นับเวลาต่อเนื่องไม่ได้ หมายเหตุ การนับเวลาต่อเนื่อง ทำให้ผู้ undo มีเวลาราชการมากขึ้น และมีผลต่อการคำนวณบำนาญ มีผลต่อการตัดสินใจ undo
27
และปัจจุบัน(วันที่ กฎหมาย Undo มีผลใช้บังคับ)
ในทางกลับกัน ข้าราชการที่เข้ารับราชการ หลังวันที่ 27 มีนาคม 2540 และปัจจุบัน(วันที่ กฎหมาย Undo มีผลใช้บังคับ) เป็นสมาชิก กบข.ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ไม่ได้สิทธิ Undo แม้แต่คนเดียว
28
โดยอนุโลม เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการ ให้บทนิยามคำว่า “ข้าราชการ”
ตามกฎหมาย Undo หมายความรวมถึงบุคคลตาม 1-4 และให้นำบทบัญญัติ เกี่ยวกับข้าราชการตาม พรบ. บำเหน็จบำนาญ 2494 มาใช้บังคับกับบุคคล 1-4 โดยอนุโลม
30
สำหรับ ข้าราชการส่วนท้องถิ่น พนักงานมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
ให้นับเวลาต่อเนื่อง+คำนวณบำนาญตาม สูตร พรบ แต่ให้ไปรับบำนาญตามกฎหมายบำเหน็จบำนาญท้องถิ่น พนักงานมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ให้นับเวลาต่อเนื่อง+คำนวณบำนาญตาม สูตร พรบ. 2494 โดยเงินเดือนสุดท้ายคำนวณตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกำหนดบัญชีอัตราเงินเดือนฯ +รับบำนาญตามกฎหมายบำเหน็จบำนาญ 2494
31
ผู้รับบำนาญ ยังมีชีวิตอยู่
เคยเป็นสมาชิกกองทุนตาม มาตรา 36 พรบ. กบข. ในวันที่ออกจากราชการ และเป็นผู้รับบำนาญอยู่ในวันที่กฎหมาย Undo ใช้บังคับ ยังมีชีวิตอยู่ 1 ให้ใช้สิทธิเลือก ตั้งแต่วันถัดจากวันที่กฎหมาย มีผลใช้บังคับ ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2558 2 ไม่ต้องคืนเงินสะสมและผลประโยชน์
32
3 ต้องคืนเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสบทบ และ
ดอกผลของเงินดังกล่าว ที่กองทุนคำนวณให้ ในวันปิดบัญชีเงินรายบุคคล โดยวิธีหักกลบลบกัน 4 ได้รับบำนาญตาม พรบ. บำเหน็จบำนาญ 2494 ย้อนหลังตั้งแต่วันที่ออกจากราชการถึง วันที่ 30 กันยายน 2558 โดยวิธีหักกลบลบกัน
33
หรือให้แบ่งชำระเงินเป็นส่วนๆให้เสร็จสิ้น
5 เมื่อหักกลบลบกันแล้ว 5.1 หากมีส่วนต่างต้องชำระคืนให้รัฐ ให้ชำระคืน ภายใน 30 มิถุนายน 2558 ชำระทั้งก้อนครั้งเดียว หรือให้แบ่งชำระเงินเป็นส่วนๆให้เสร็จสิ้น ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม ถึง 30 กันยายน 2558 หากไม่สามารถชำระเงินคืนได้ภายในเวลาที่ กำหนด(30 กย. 58)ให้ถือว่าการแสดงเจตนานั้น เป็นอันสิ้นผล และหากได้ชำระเงินบางส่วน ให้รัฐแล้ว รัฐจะคืนเงินกล่าวให้ผู้รับบำนาญนั้น 5.2 หากมีส่วนต่างที่รัฐต้องจ่ายคืน รัฐจะจ่ายคืนให้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลัง กำหนด (ตั้งแต่ 1 ตค. 58 เป็นต้นไป)
34
6 ให้ผู้รับบำนาญตาม 5.1 คืนเงินให้รัฐผ่าน
ส่วนราชการผู้เบิก เพื่อนำส่งต่อให้กรมบัญชีกลาง 7 เงินที่ได้รับคืนไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน และให้รัฐโดยกรมบัญชีกลางสามารถนำเงินที่ได้รับ คืนจากผู้รับบำนาญตาม 5.1 ไปจ่ายคืนให้ผู้รับ บำนาญ ตาม 5.2 ได้ ส่วนที่เหลือให้นำส่งเข้า บัญชีเงินสำรอง ให้แล้วเสร็จภายใน มีนาคม 2559
35
8 หากแสดงความประสงค์ไว้แล้ว และถึงแก่ความตาย
ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม ให้ถือว่าการแสดง ความประสงค์นั้น เป็นอันสิ้นผล และหากได้คืน เงินตาม 5.1 ให้รัฐแล้ว รัฐจะคืนเงินดังกล่าวให้กับ ผู้รับบำนาญ หรือทายาทตาม ป.พ.พ. แล้วแต่กรณี ต่อไป 9 จะได้รับบำนาญตาม พรบ. บำเหน็จบำนาญ 2494 ตั้งแต่ 1 ตุลาคม เป็นต้นไปจนถึงวันที่เสียชีวิต
36
ให้รวมถึงผู้รับบำนาญที่เคยเป็นบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
37
โดยอนุโลม เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการ
ให้นำบทบัญญัติเกี่ยวกับผู้รับบำนาญตาม พรบ.Undo มาใช้บังคับกับ ผู้รับบำนาญที่เคยเป็นบุคคล 1-4 ให้นำบทบัญญัติเกี่ยวกับผู้รับบำนาญตามพรบ. บำเหน็จบำนาญ 2494 มาใช้บังคับกับผู้รับบำนาญที่เคยเป็นบุคคล 1-4 โดยอนุโลม
38
สำหรับผู้รับบำนาญที่เคยเป็น
ข้าราชการส่วนท้องถิ่น พนักงานมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
39
เงินบำนาญ เท่านั้น Note คิดเฉพาะ ไม่นำ ชคบ.และเงินบำเหน็จดำรงชีพ
ไม่นำ ชคบ.และเงินบำเหน็จดำรงชีพ ครั้งที่ 1 และ 2 ที่ได้รับไปแล้ว มาร่วมคำนวณในขั้นตอน การขอ Undo แต่จะนำมาคิดคำนวณให้ในภายหลัง ไม่คิด ดอกเบี้ยทั้งในส่วนของเงินก้อนที่จะต้องคืน และผลต่างเงินบำนาญที่จะได้รับคืน
40
Note การนำเงินมาคืน กรณีขอแบ่งชำระเป็นส่วนๆ งวด 1 งวด 2 งวด 3 กรกฎาคม
สิงหาคม กันยายน งวดละ เท่าๆกัน งวด 1 งวด 1 งวด 1 งวด 1 งวด 1 งวด 1 งวด 1 งวด 1 งวดละ เท่าๆกัน งวด 2 งวด 2 งวด 2 งวด 2 งวด 2 งวด 2 งวด 2 งวด 3 งวด 3 งวด 3 งวดละ เท่าๆกัน +เศษ งวด 3 งวด 3 งวด 3
41
แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด
วันที่กฎหมาย ใช้บังคับ วันที่ 30 กันยายน 58 เลือก Undo 30 มิย. 58 วันที่เลือก Undo คืนเงิน ได้เงินคืน ทั้งก้อน แบ่งชำระ ได้บำนาญสูตรเดิม กฎหมายบำเหน็จบำนาญ สิ้นผล ไม่ส่งคืนเงินให้ แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด สิ้นผล สิ้นผล วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต
42
(ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด)
ผู้รับเบี้ยหวัด (ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด) ที่เคยเป็นสมาชิกกองทุน ตามมาตรา 36 พรบ. กบข. กรณีพ้นจากทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด ภายหลัง 30 กันยายน 2558 1 ให้ใช้สิทธิเลือก ตั้งแต่วันที่กฎหมาย มีผลใช้บังคับ ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2558 2 ไม่ต้องคืนเงินสะสมและผลประโยชน์ที่ได้รับไปแล้ว 3 ต้องคืนเงินสบทบ และดอกผลของเงินดังกล่าวให้รัฐ ภายใน 30 มิถุนายน 2558 โดยให้คืนเงินให้รัฐผ่าน ส่วนราชการผู้เบิกเพื่อนำส่งต่อให้กรมบัญชีกลาง
43
4 ไม่มีสิทธิได้รับเงินประเดิม เงินชดเชย
และดอกผลของเงินดังกล่าว โดยรัฐจะให้ กบข. นำเงินนี้ไปใส่ในบัญชีเงินสำรอง เพื่อใช้ในการ บริหารจัดการภาระบำนาญต่อไป 5 สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับตั้งแต่วันถัดจาก วันที่ 30 กันยายน 2558 คือวันที่ 1 ตุลาคม 2558 6 เมื่อออกจากทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัดเพื่อรับ บำนาญเหตุทดแทนจะได้รับบำนาญสูตรเดิม จนถึงวันที่เสียชีวิต
44
กองหนุนมีเบี้ยหวัดเพื่อรับบำนาญเหตุทดแทน
กรณีพ้นจากทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด ก่อน 30 กันยายน 2558 1 ให้ใช้สิทธิเลือกได้ไม่เกินวันที่ที่จะออกจากทหาร กองหนุนมีเบี้ยหวัดเพื่อรับบำนาญเหตุทดแทน 2 ไม่ต้องคืนเงินสะสมและผลประโยชน์ที่ได้รับไปแล้ว 3 ต้องคืนเงินสบทบ และดอกผลของเงินดังกล่าวให้รัฐ ภายในวันก่อนวันออกจากทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด เพื่อรับบำนาญเหตุทดแทน โดยให้คืนเงินให้รัฐผ่าน ส่วนราชการผู้เบิกเพื่อนำส่งต่อให้กรมบัญชีกลาง 4 จะได้รับบำนาญสูตรเดิม ตั้งแต่วันถัดจากวันออกจาก ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัดเพื่อรับบำนาญเหตุทดแทน
45
หากแสดงความประสงค์ไว้แล้ว และถึงแก่ความตาย
ทั้ง 2 กรณี หากแสดงความประสงค์ไว้แล้ว และถึงแก่ความตาย ก่อนออกจากทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัดเพื่อรับบำนาญ เหตุทดแทน แล้วแต่กรณี ให้ถือว่าการแสดงความ ประสงค์นั้นเป็นอันสิ้นผล และหากได้คืนเงินสบทบ และดอกผลของ เงินดังกล่าวให้รัฐแล้ว รัฐจะคืนเงินดังกล่าวให้กับ ทายาทตาม ป.พ.พ.ต่อไป
46
กรณีพ้นจากทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด ภายหลัง 30 กันยายน 2558
กรณีพ้นจากทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด ภายหลัง 30 กันยายน 2558 วันที่ 30 กันยายน 58 วันที่กฎหมายใช้บังคับ ได้รับเบี้ยหวัดและได้รับ เงินสะสม/สมทบและผลประโยชน์จาก กบข. ไปแล้ว เลือก Undo พ้นจากกองหนุนมีเบี้ยหวัด 30 มิย. 58 วันที่เลือก Undo คืนเงินสมทบ+ ผลประโยชน์ (ไม่มีกรณีได้เงินคืน) ได้บำนาญสูตรเดิมจนเสียชีวิต กบข. ส่ง เงินประเดิม เงินชดเชย +ผลประโยชน์ เข้าบัญชีเงินสำรอง กฎหมายบำเหน็จบำนาญ สิ้นผล วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต
47
กรณีพ้นจากทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด ก่อน 30 กันยายน 2558
กรณีพ้นจากทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด ก่อน 30 กันยายน 2558 วันที่พ้นจากกองหนุน มีเบี้ยหวัด วันที่ 30 กันยายน 58 วันที่กฎหมายใช้บังคับ ได้รับเบี้ยหวัดและได้รับ เงินสะสม/สมทบและผลประโยชน์จาก กบข. ไปแล้ว เลือก Undo 30 มิย. 58 วันที่เลือก Undo คืนเงินสบทบ+ผลประโยชน์ (ไม่มีกรณีได้เงินคืน) ได้บำนาญสูตรเดิมจนเสียชีวิต กบข. ส่ง เงินประเดิม เงินชดเชย +ผลประโยชน์ เข้าบัญชีเงินสำรอง กฎหมายบำเหน็จบำนาญ กฎหมายบำเหน็จบำนาญ สิ้นผล วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต
48
ไม่มีการแบ่งชำระเงินเป็นส่วนๆ
Note ผู้รับเบี้ยหวัด ไม่มีการแบ่งชำระเงินเป็นส่วนๆ
49
Note เงินก้อนที่ได้รับจาก กบข.หรือกรมบัญชีกลาง แล้วแต่กรณี
ได้รับการยกเว้นภาษี ตาม มติ คณะรัฐมนตรี (ที่ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีแล้ว ก็ไม่ต้องคืน)
50
วันสุดท้ายแสดงความประสงค์
Note วันสำคัญ Undo 30 มิถุนายน 2558 วันสุดท้ายแสดงความประสงค์ 30 กันยายน 2558 วันสุดท้ายชำระเงิน
51
กบข.กำหนดโดยความเห็นชอบกระทรวงการคลัง
หลักเกณฑ์และวิธีการประกอบกฎหมาย Undo การแสดงความประสงค์ การคืนเงินทั้งจำนวน หรือการแบ่งชำระเงินเป็นส่วนๆ การได้รับเงินคืน โดยการหักกลบลบกัน ระหว่างผู้รับบำนาญ กับ รัฐ กระทรวงการคลังกำหนด กบข.กำหนดโดยความเห็นชอบกระทรวงการคลัง การส่งเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสบทบ และดอกผลของเงินดังกล่าว ของผู้รับบำนาญและข้าราชการ เข้าบัญชีเงินสำรอง การคืนเงินสะสม และดอกผลของเงินดังกล่าว ให้ข้าราชการ
52
สถานที่ยื่นใบสมัคร Undo
+รับชำระเงิน (ถ้ามี) ส่วนราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ ข้าราชการ ส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ผู้รับบำนาญ ผู้รับเบี้ยหวัด
53
หลักฐานยืนยัน การสมัคร Undo ใบสมัคร ใบรับแบบแสดงความประสงค์
(แบบ ข.1 , บ.1) สำเนาเอกสาร + รับรองสำเนาโดยส่วนราชการที่รับใบสมัคร ใบรับแบบแสดงความประสงค์ (แบบ ข.2 , บ.2,3,7) ออกจากระบบ e Pension โดยส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ใบรับรองสิทธิ (แบบ ข.3 , บ.4,5,8) ออกจากระบบ e Pension โดย สนง.คลังจังหวัด , กรมบัญชีกลาง (สรจ.)
54
การกรอกข้อมูลใน ใบสมัคร Undo (แบบ ข.1 , บ.1) ถูกต้องตามข้อเท็จจริง
ถูกต้องตามกฎหมาย ถูกใจ
55
ไม่ต้องยื่นเอกสารใดๆ
กรณีผู้รับบำนาญไม่คืนเงิน ที่แบ่งชำระเป็นส่วนๆให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด ไม่ต้องยื่นเอกสารใดๆ กรมบัญชีกลางจะคืนเงิน ที่ได้รับไว้แล้วทั้งหมดให้ผู้รับบำนาญ ตั้งแต่ตุลาคม 2558 เป็นต้นไป
56
กรณีผู้รับบำนาญที่ยื่นความประสงค์ไว้แล้วถึงแก่ความตาย
ก่อน 1 ตุลาคม 2558 ผู้มีสิทธิรับมรดกยื่น แบบ บ.6 ต่อส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ กรมบัญชีกลางจะคืนเงิน ที่ได้รับไว้ทั้งหมดให้แก่ผู้มีสิทธิรับมรดกตั้งแต่วันที่ได้รับและตรวจสอบเอกสาร ถูกต้องแล้วเป็นต้นไป
57
จบ สาระสำคัญของกฎหมาย Undo
59
Back 2 ผู้รับบริการ หน่วยงานราชการ
60
หลักเกณฑ์:ขั้นตอนการรับสมัครตั้งแต่ต้นจนจบในแต่ละกรณี
เทคนิค:การบันทึกข้อมูลและเรียกรายงานเพื่อตรวจสอบ ในระบบ e Pension-Undo e Pension เทคนิค:การบันทึกข้อมูลและดำเนินการโอนขายบิล ในระบบ GFMIS GFMIS สารบรรณ:การตรวจสอบและควบคุมเอกสารหลักฐานในแต่ละวันและแต่ละงวด ของแต่ละหน่วยงาน
61
ข้าราชการ Undo
62
1 2 6 5 4 3 7 8 ข้าราชการ Undo กบข. กรมบัญชีกลาง กรมบัญชีกลาง
ส่วนราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ ส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ในระบบ e Pension กรมบัญชีกลาง สนง.คลังจังหวัด กบข. กรมบัญชีกลาง 1 สมัคร Undo 2 6 ตรวจสอบใบสมัครและสถานะการเป็นสมาชิก กบข. ในระบบ e Pension ใบสมัครUndo e Pension กบข. +สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาสมุดบัญชี เงินฝากธนาคารผู้สมัคร แบบ ข.1 e Pension e Pension ทำสำเนาและรับรองสำเนา มอบให้ผู้สมัคร 5 Statement รายตัว 30 กย 57 พิมพ์จาก ระบบ e Pension -ประมวลผล -ส่งข้อมูลและรายงาน ผู้ที่ขอUndoให้ กบข. ใบรับ การสมัคร ใบรับการสมัคร 1 ประเดิม+ดผ 2 ชดเชย+ดผ 3 สบทบ +ดผ 4 สะสม +ดผ 4 3 แบบ ข.2 Undoสมบูรณ์ +รอรับใบรับรองสิทธิจาก บก.และรอรับเงินสะสมและดอกผลจาก กบข. - ตรวจสอบเอกสาร - อนุมัติในระบบ - ออกใบรับรองสิทธิ ในระบบ - ส่งข้อมูลให้ บก. เก็บใบสมัครเป็นรายวัน แล้วรวบรวมส่ง สนง.คลังจังหวัด/กรมบัญชีกลาง (สรจ)ทุกสิ้นงวด โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร ผู้มีสิทธิ รายงานกบบ. เรียกข้อมูลขึ้นมาตรวจสอบ พิมพ์ใบรับรองสิทธิ และส่งต่อให้ผู้สมัคร Undo ต่อไป เก็บใบสมัครเป็นรายงวด แยกเป็น ส่วนราชการ ใบแจ้ง การโอนเงิน ใบรับรองสิทธิ Undoสมบูรณ์ +รอรับเงินสะสมและดอกผลจาก กบข. 7 โอนเงิน 1-3 เข้า บัญชี เงินสำรอง ใบรับรองสิทธิ มีลายมือชือ พิมพ์จากระบบe Pension แบบ ข.3 ใบรับรองสิทธิ -สอบยันข้อมูล ผู้มีสิทธิรายตัวกับ รายงานของ กบข. -แจ้งส่วนราชการ งดหักเงินสะสม และ งดเบิกเงินชดเชย และเงินสบทบ ใบแจ้ง การโอนเงิน รายงาน บก. Undoสมบูรณ์ 8 งดหักเงินสะสม และ งดเบิกเงินชดเชย และเงินสบทบ จบ
63
ผู้รับบำนาญ Undo (รวมผู้รับเบี้ยหวัด)
64
Start e Pension ใบสมัครUndo ระหว่างวัน สิ้นวัน ทุกวันที่ 15
Database Pension สิ้นวัน Statement วันที่ xx/xx/xx ตรวจสอบการรับสมัคร และเก็บเอกสาร เข้าแฟ้มประจำวัน ชื่อ …………………. ……………… ชื่อ …………………. ……………… ชื่อ …………………. ……………… ชื่อ …………………. ……………… ใบสมัครUndo ชื่อ …………………. ……………… รวมจำนวนใบสมัคร ฉบับ ทุกวันที่ 15 Statement งวดที่…. วันที่ xx/xx/xx Statement งวดที่…. วันที่ xx/xx/xx รวมรวมเอกสารในแต่ละงวดส่ง สนง.คลังจังหวัด/สรจ. Detail รายวัน Summary รายวัน Statement Statement Statement ใบสมัครUndo Summary รายวัน Detail รายวัน
65
ส่วนราชการ
66
Start e Pension กรณีได้เงินเพิ่ม ใบสมัครUndo ระหว่างวัน สิ้นวัน
Database Pension สิ้นวัน Statement วันที่ xx/xx/xx ตรวจสอบการรับสมัคร และเก็บเอกสาร เข้าแฟ้มประจำวัน ชื่อ จำนวนเงิน ได้เพิ่ม …. ……… ………… ใบสมัครUndo รวมคน ฉบับ บาท ทุกวันที่ 15 Statement งวดที่…. วันที่ xx/xx/xx Statement งวดที่…. วันที่ xx/xx/xx รวมรวมเอกสารในแต่ละงวดส่ง สนง.คลังจังหวัด Detail รายวัน Statement Statement Summary รายวัน Statement Summary รายวัน Detail รายวัน
67
Start e Pension กรณีต้องคืนเงิน ขั้นรับสมัคร ใบสมัครUndo ระหว่างวัน
Database Pension สิ้นวัน Statement วันที่ xx/xx/xx ตรวจสอบการรับสมัคร และเก็บเอกสาร เข้าแฟ้มประจำวัน ชื่อ เลขที่บส จำนวนเงิน คงเหลือ ยอดรวม …. ………. ………… ………. ..…….. …. ………. ………… … …… . …….. …. ………. ………… ……… ……… ใบสมัครUndo รวมคน ฉบับ บาท ทุกวันที่ 15 Statement งวดที่…. วันที่ xx/xx/xx Statement งวดที่…. วันที่ xx/xx/xx รวมรวมเอกสารในแต่ละงวดส่ง สนง.คลังจังหวัด Detail รายวัน Statement Statement Summary รายวัน Statement Summary รายวัน Detail รายวัน
68
บัญชีเงินฝากธนาคาร สรก บัญชีเงินฝากธนาคารTR
Start กรณีต้องคืนเงิน ขั้นรับชำระเงิน ใบสมัครUndo e Pension ระหว่างวัน ใบเสร็จ รับเงิน ทุกวันที่ 15 สิ้นวัน Database Pension Pay in A Pay in TR บัญชีเงินฝากธนาคาร สรก วันที่1 xxxxx วันที่… xxxxx Statement วันที่ xx/xx/xx ตรวจสอบการรับเงิน ฝากเงินเข้าบัญชีธนาคาร และเก็บเอกสารเข้าแฟ้มประจำวัน บัญชีเงินฝากธนาคารTR ชื่อ เลขที่บส จำนวนเงิน คงเหลือ ยอดรวม …. ………. ………… ………. ..…….. …. ………. ………… … …… . …….. …. ………. ………… ……… ……… รวม xxxxx รวมคน ฉบับ บาท บาท บาท เลขที่ Pay in - A ทุกวันที่ 15 Statement งวดที่…. วันที่ xx/xx/xx Statement งวดที่…. วันที่ xx/xx/xx รวมรวมเอกสารในแต่ละงวดส่ง สนง.คลังจังหวัด Detail รายวัน Summary รายวัน Statement Statement Pay in TR Statement Summary รายวัน Detail รายวัน เลขที่ Pay in -TR
69
ระบบการจัดเก็บเอกสารของส่วนราชการ
แต่ละวัน ควรแยกเป็น 4 ประเภท
70
กรณีต้องคืนเงิน ขั้นรับชำระเงิน
1 ข้าราชการ Statement Pension เอกสารประจำวัน xx/xx/xx ใบสมัครUndo 2 ผู้รับบำนาญ กรณีได้เงินเพิ่ม Statement Pension แฟ้มรวม ใบสมัครUndo 3 ผู้รับบำนาญ เบี้ยหวัด กรณีต้องคืนเงิน ขั้นรับสมัคร Statement Pension 1วัน ใบสมัครUndo 4 ผู้รับบำนาญ เบี้ยหวัด กรณีต้องคืนเงิน ขั้นรับชำระเงิน Statement Pension ใบเสร็จ รับเงิน Pay in A
71
บางวันมี 1 ประเภท หรือ 2 ประเภท 3 ประเภท หรือทั้ง 4 ประเภท ก็ได้
72
เก็บเอกสารประจำวัน แยกเป็นวันๆเรียงตามลำดับวันที่
วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx
73
1งวด เมื่อครบงวดให้จัดเอกสารส่งให้ สนง.คลังจังหวัด/สรจ. Pay in TR
ส่งเฉพาะ ใบสมัคร และ Statement ปะหน้า เอกสารประจำงวดที่ xx วันที่ xx/xx/xx – วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx – วันที่ xx/xx/xx Pay in TR (ถ้ามี) แฟ้มรวม Statement งวดที่…. วันที่ xx/xx/xx Statement งวดที่…. วันที่ xx/xx/xx Detail รายวัน 1งวด Summary รายวัน เลขที่ Pay in -TR
74
ซองเอกสารที่ส่งให้ สนง.คลังจังหวัด/สรจ.
ส่วนราชการ เอกสารประจำงวดที่ xx วันที่ xx/xx/xx – วันที่ xx/xx/xx Undo
75
เก็บเอกสารประจำวันส่วนที่เหลือไว้ที่ส่วนราชการ
วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx ส่วนที่เหลือ วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx วันที่ xx/xx/xx
76
ข.3 ข.2 1 แบบ ข.1 บ.8 บ.7 บ.6 บ.5 2 บ.4 บ.3 บ.2 แบบ บ.1
77
โปรดให้ความสำคัญ การตรวจสอบใบสมัคร การบันทึกข้อมูลใบสมัคร
ถูกต้องตามข้อเท็จจริง ถูกต้องตามกฎหมาย การบันทึกข้อมูลใบสมัคร การปฏิบัติงานตามขั้นตอนและแนวทางที่กำหนด
78
จบ บริบูรณ์ 1 2
79
ขอขอบคุณทุกๆท่าน ที่ให้ความร่วมมือ อย่างดียิ่ง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.