ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
2
การจัดทำแปลงเรียนรู้เน้นหนักการใช้ชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
เป้าหมาย ดำเนินการ 134 จุดทั่วประเทศ ดังตาราง ศูนย์บริหารศัตรูพืช จำนวนแปลงนำร่อง ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น 20 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดสงขลา 10 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดพิษณุโลก 18 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดเชียงใหม่ 16 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดนครราชสีมา ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดสุพรรณบุรี ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดสุราษฏร์ธานี 9 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชลบุรี
3
ขั้นตอนการดำเนินงาน - จังหวัดคัดเลือกจุดดำเนินการตามเป้าหมายที่ได้รับ จัดส่งให้ศูนย์ บริหารศัตรูพืช เลือกแปลงใกล้เคียงกับแปลงพยากรณ์ - ศูนย์ ฯ ประสานจังหวัด(ผู้รับผิดชอบปศ.) และวางแผนการจัดทำ แปลงเรียนรู้ ฯ - ดำเนินการตามแผน - รายงานผลการดำเนินงานตามแบบ ก1/1
4
2. สนับสนุนชีวภัณฑ์ในกิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร
เป้าหมาย 14,829 จุดดำเนินการ ขั้นตอนการดำเนินงาน - ผลจากการติดตามสถานการณ์ของแปลงเรียนรู้ มีแนวโน้มที่จะเกิดการระบาดของศัตรูพืชและเกษตรกรพิจารณาความต้องการใช้ชีวภัณฑ์แจ้งศูนย์บริหารศัตรูพืช (ผ่านจังหวัด )ทราบ - ศบพ.ให้การสนับสนุนปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืชเพื่อใช้ในการถ่ายทอดให้เกษตรกรสมาชิกได้รู้จักและตัดสินใจใช้
5
1) การคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ
3. สนับสนุนเกษตรกรผลิตขยายปัจจัยชีวภัณฑ์ใช้เองในพื้นที่ เป้าหมาย 30 กลุ่มเกษตรกร เงื่อนไข 1) การคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ - พื้นที่ปลูกพืชของสมาชิกหรือเกษตรกรใกล้เคียงมีปัญหาศัตรูพืชระบาดและสามารถควบคุมได้ด้วยชีวภาพ - เกษตรกรมีความสนใจที่จะรวมกลุ่มกันผลิตขยาย - มีการจัดการบริหารจัดการที่เป็นระบบ และมีความต่อเนื่องในการวางแผนการผลิตขยาย
6
ชนิดศัตรูธรรมชาติ ชนิดศัตรูพืช
2) ชนิดศัตรูธรรมชาติที่เกษตรกรสามารถผลิตได้และชนิดศัตรูพืช ที่เข้าทำลาย ชนิดศัตรูธรรมชาติ ชนิดศัตรูพืช เชื้อราไตรโครเดอร์มา เชื้อราสาเหตุโรคพืชทางดิน เชื้อราบริววาเรีย แมลงปากดูด เช่น เพลี้ย แมลงหางหนีบ แมลงทั่วไปที่มีขนาดเล็ก เชื้อไวรัส เอ็น พี วี หนอนกระทู้หอม หนอนกระทู้ผัก และหนอนเจาะสมอฝ้าย หมายเหตุ ชนิดศัตรูธรรมชาติที่เลือกผลิตไม่ขึ้นกับชนิดพืช ขึ้นกับชนิด ศัตรูพืชที่ต้องการควบคุม
7
- การฝึกอบรมการผลิต การใช้ประโยชน์จาก ชีวภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ
3) กลุ่มเกษตรกรได้อะไรจากการเข้าร่วมกิจกรรม - การฝึกอบรมการผลิต การใช้ประโยชน์จาก ชีวภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ - หัวเชื้อจุลินทรีย์ หรือพ่อแม่พันธุ์ศัตรูธรรมชาติ ที่ต้องการ - วัสดุที่จำเป็นบางรายการ
8
ขั้นตอนการดำเนินงาน จังหวัดคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรที่ต้องการเข้าร่วมกิจกรรม ตามเงื่อนไขข้างต้น แจ้งศูนย์บริหารศัตรูพืช ศูนย์บริหารศัตรูพืช รวบรวมวิเคราะห์และเรียงลำดับ ความจำเป็นในการให้การสนับสนุน แจ้งให้ส่วนบริหารศัตรูพืชโอนจัดสรร งปม.
9
ส่วนบริหารศัตรูพืชพิจารณาโอนจัดสรร งปม.
ให้ศูนย์ฯดำเนินการ ศูนย์บริหารศัตรูพืชประสานจังหวัดและกลุ่มเกษตรกร (จุดดำเนินการ)วางแผนการให้ความรู้และสนับสนุนการ ผลิตขยาย ** ศูนย์บริหารศัตรูพืชร่วมกับจังหวัดติดตามผลการ ดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.