งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

2 ALIVE มีชีวิต (ชีวา) Having life Lively or animated

3 What is nursing record? ข้อความที่แสดงถึงกิจกรรมการพยาบาล (Nursing activities) ทั้งหมดที่ จดไว้เป็นหลักฐาน สิ่งที่เกี่ยวกับผู้ใช้บริการ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับผู้ใช้บริการ สิ่งที่พยาบาลปฏิบัติเพื่อให้การดูแลแก่ผู้ใช้บริการทั้งทางตรงและทางอ้อม

4 คุณค่าของการบันทึกทางการพยาบาล
พัฒนา คุณภาพการพยาบาล หลักฐานทางกฎหมาย เสถียรภาพ ของวิชาชีพ พัฒนาการศึกษา พัฒนาเอกสิทธิ์ ทางการพยาบาล พัฒนาการวิจัย

5 มาตรฐานการพยาบาลและผดุงครรภ์ สภาการพยาบาล
ความสอดคล้อง มาตรฐานการพยาบาลและผดุงครรภ์ สภาการพยาบาล มาตรฐาน HA : สรพ. บริบทขององค์กร คุณภาพของ สปสช.

6 เรื่อง บันทึกทางการพยาบาล ใน มาตรฐานการพยาบาลและผดุงครรภ์
ประกาศสภาการพยาบาล เรื่อง บันทึกทางการพยาบาล ใน มาตรฐานการพยาบาลและผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528, 2540

7 มาตรฐานที่ 5: การบันทึกและการายงาน
มีความครอบคลุมการพยาบาลในทุกระยะ อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่แรกรับจนถึงจำหน่าย มีความชัดเจนในกระบวนการพยาบาลทุกขั้นตอน มีการใช้แบบฟอร์มการบันทึกที่มีมาตรฐานและมีการพัฒนาแบบบันทึกให้สามารถบันทึกได้อย่างครบถ้วนและแปลผลการบันทึกได้อย่างแม่นยำ

8 มาตรฐานที่ 5: การบันทึกและการรายงาน
ผลการบันทึกสามารถสะท้อนคุณภาพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ได้ มีระบบการตรวจสอบคุณภาพและความสมบูรณ์ของบันทึกทางการพยาบาลเพื่อการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ

9 สถาบันรับรองมาตรฐานสถานพยาบาล
Hospital Accreditation: HA

10 บันทึกทางการพยาบาล ต้องแสดงถึงการ พยาบาลผู้รับบริการแบบองค์รวม ต่อเนื่อง และเป็นประโยชน์ในการสื่อสาร ประสาน การดูแลที่ต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพการ พยาบาลและการวิจัย

11

12 เกณฑ์การประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล
1. มีการบันทึกอาการแรกรับของพยาบาลครบถ้วนตามฟอร์มที่หน่วยบริการ กำหนดและสอดคล้องกับการบันทึกของแพทย์ (อย่างน้อยต้องประกอบด้วย อาการที่มา ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบันและการตรวจประเมิน ผู้ป่วย) 2. มีการบันทึกการให้ยา สารน้ำ การให้เลือด ฟอร์มปรอทและการบันทึก I/O (ถ้า มีคำสั่งการรักษา) ถูกต้อง ครบถ้วน ตามคำสั่งการรักษาของแพทย์

13 เกณฑ์การประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล
3. มีการบันทึกทางการพยาบาล ในส่วนของการวินิจฉัยทางการพยาบาล ที่ สอดคล้องกับสภาพปัญหาของผู้ป่วย 4. มีการบันทึกทางการพยาบาล ในส่วนของข้อมูลสนับสนุนการวินิจฉัยทางการ พยาบาล 5. มีการบันทึกทางการพยาบาล ในส่วนของการวางแผนการพยาบาลและกิจกรรม การพยาบาลที่สอดคล้องกับการวินิจฉัยทางการพยาบาล

14 เกณฑ์การประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล
6. มีการบันทึกทางการพยาบาล ในส่วนของการประเมินผลหลังการให้การ พยาบาลที่สอดคล้องกับการวางแผนการพยาบาลและกิจกรรมทางการพยาบาล 7. มีการลงนามและวันเดือนปีและเวลาที่รับทราบคำสั่งการรักษาของแพทย์ 8 มีการบันทึกทางการพยาบาลด้วยลายมือที่สามารถอ่านได้ง่ายและลงลายมือ ชื่อผู้บันทึก 9 การวางแผนการจำหน่าย ( Discharge planning) อย่างน้อยการนัดตรวจครั้ง ต่อไป/การปฏิบัติตัว/ Home health care

15 จุดเน้น ชัดเจน ครอบคลุม ต่อเนื่อง การสื่อสาร กระบวนการพยาบาล การพยาบาล
แบบบันทึกที่เป็นมาตรฐาน ประสานการดูแล ที่ต่อเนื่อง การพยาบาล แบบองค์รวม สะท้อนคุณภาพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ประเมินคุณภาพการพยาบาล การวิจัย

16 ทำอย่างไรให้บันทึกทางการพยาบาลมีชีวิต (ชีวา)?

17 ศาสตร์ทางการพยาบาล (Nursing Science) พยาบาลจึงต้องมี... ศิลปะ (Art)

18 “ศาสตร์” ช่วยได้อย่างไร?
มองเห็นปัญหาได้ชัดเจน ครอบคลุม อธิบายเหตุและผลได้อย่างถูกต้อง เชื่อมโยงประเด็นต่างๆ ได้สอดคล้องกัน

19 “ศิลปะ” ช่วยได้อย่างไร?
การบันทึกทางการพยาบาล ● เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติการพยาบาล (Nursing practice) ● เป็นการสื่อสารด้วยการเขียน (Written communication)

20 “ศิลปะ” ช่วยได้อย่างไร?
● ช่วยในการถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อสาร ให้เข้าใจได้ ● สร้างคุณค่าและคุณภาพการบันทึก ● เกิดคุณภาพของการพยาบาล


ดาวน์โหลด ppt ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google