ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPhi Kurusatienkit ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ วัตถ์
2
ที่มาและความสำคัญของ ปัญหา ผู้เรียน เข้าใจ กระบวนการ ต่างๆของ การ วิเคราะห์ เรื่องคุณค่า ความงาม ที่ เกิดจากการ รับรู้ทาง ศิลปะ ผลสัมฤ ทธิ์ ทางการ เรียน ความรู้ และ เข้าใจใน สุนทรียภ าพ ประสบกา รณ์ การศึกษา และ พัฒนา เป็น รสนิยม สมรรถนะ = มีทักษะ ด้านการ วิเคราะห์ คุณค่า ความงาม
3
วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุดการสอนในรายวิชา สุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขา คอมพิวเตอร์กราฟิก
4
สมมติฐานการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน ในรายวิชา สุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขา คอมพิวเตอร์กราฟิก ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ตัวแปรต้น ชุดการสอน ในรายวิชาการสุนทรียศาสตร์ เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปี ที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา สุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขา คอมพิวเตอร์กราฟิก
5
วิธีดำเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขา คอมพิวเตอร์กราฟิก ปีการศึกษา 2556 จำนวน 3 ห้องเรียน จำนวนทั้งสิ้น 115 คน กลุ่มตัวอย่าง ผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขา คอมพิวเตอร์กราฟิก ปีการศึกษา 2556 จำนวน 35 คน เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำใน รายวิชา กราฟิก 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้มี 2 แบบ ประกอบด้วย 1. ชุดการสอน วิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก 2. แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
6
สถิติที่ใช้ในการวิจัย สถิติพื้นฐาน สถิติที่ใช้ในการหาความเชื่อมั่นของ แบบทดสอบ จากการทดสอบแบบครั้งเดียว ตามวิธีของ โลเวตต์ แบบแจกแจงทวินาม (Lovett method ( บรรดล สุขปิติ, 2542: 113) สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน - เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียน ใช้การทดสอบค่าที (t-test)
7
จำนวนข้อคำถาม K คะแนนรวมของ นักศึกษาแต่ละคน ค่าความเชื่อมั่นของ แบบทดสอบอิงเกณฑ์ 45802 0.47 ผลการวิจัย พบว่า จากตารางที่ 1 แสดงว่าแบบทดสอบมีค่าความ เชื่อมั่นที่ 0.47 อยู่ในระดับปานกลาง สามารถ นำไปใช้ในการวัดและประเมินผลได้ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นของ แบบทดสอบอิงเกณฑ์ จำนวนข้อ คำถาม K คะแนนรวมของ นักศึกษาแต่ละ คน ค่าความเชื่อมั่น ของ แบบทดสอบอิง เกณฑ์ 458020.47
8
ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อน เรียนและหลังเรียน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 สาขา คอมพิวเตอร์กราฟิก กลุ่มทดลอง MeanN Std. Deviation Std. Error Mean t-testSig. ก่อนเรียน หลังเรียน 7.18341.977.339 -12.979.000 11.79342.240.384 จากตารางที่ 2 พบว่า คะแนนเฉลี่ย และความ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ของนักศึกษาก่อนเรียน เท่ากับ 7.18 และ 1.977 ตามลำดับ และหลังจากได้ใช้ชุด การสอนมีคะแนนเฉลี่ย และความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของนักศึกษาหลังเรียน เท่ากับ 11.79 และ 2.240 ตามลำดับ เมื่อคำนวณหาค่าที (t – test) พบว่า ผล คะแนนการทดสอบของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์ กราฟิก หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่.05
9
สรุปผลการวิจัย การวิจัยในชั้นเรียนเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผู้เรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แบบชุด การสอนในรายวิชา สุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขา คอมพิวเตอร์กราฟิก ผลการวิจัย พบว่า การ พัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ใน รายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขา คอมพิวเตอร์กราฟิก ปีการศึกษา 2556 นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน
10
ขอขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.